การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมโดยใช้สื่อมัลติมิเดีย ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

Main Article Content

พัชนี สงไตรรัตน์
ประไพศรี คงตระกูล
พัฐสุดา โพธิ์จันทร์
ศันสนีย์ เล็กประทุม
สุภัทรศักดิ์ คำสามารถ

บทคัดย่อ

งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเพื่อศึกษาการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมโดยใช้สื่อมัลติมิเดียระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กศน.อำเภอท่าแซะ ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 การวิจัยเพื่อส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมโดยใช้สื่อมัลติมิเดีย ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สกร.อำเภอท่าแซะ ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มที่ 1 การประเมินคุณธรรมจริยธรรมเพื่อการพัฒนาตนด้านกตัญญูกตเวทีมีค่าเฉลี่ย 2.40 รองลงมาคือด้านสุภาพมีค่าเฉลี่ย 2.37 และด้านสะอาดมีค่าเฉลี่ย 2.31 การประเมินคุณธรรม จริยธรรมด้านขยัน มีค่าเฉลี่ย 2.61 รองลงมาคือด้านประหยัด มีค่าเฉลี่ย 2.56 และด้านซื่อสัตย์มีค่าเฉลี่ย 2.45 กลุ่มที่ 2 การประเมินคุณธรรมจริยธรรมเพื่อการทำงาน ด้านขยันมีค่าเฉลี่ย 2.61 รองลงมาคือด้านประหยัดมีค่าเฉลี่ย 2.56 และด้านซื่อสัตย์มีค่าเฉลี่ย 2.45 กลุ่มที่ 3 การประเมินคุณธรรมจริยธรรมเพื่อการพัฒนาการอยู่ร่วมกันในสังคม ด้านยึดมั่น ในวิถีชีวิตและการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีค่าเฉลี่ย 2.76 ด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์และรักความเป็นไทย มีค่าเฉลี่ย 2.75 ด้านมีน้ำใจ มีค่าเฉลี่ย 2.64 ด้านสามัคคี มีค่าเฉลี่ย 2.58 และด้านมีวินัย มีค่าเฉลี่ย 2.43 

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่2) พ.ศ.2545. สืบค้น 5 มีนาคม 2565, จาก https://www.bic.moe.go.th/images/stories/5Porobor._2542pdf.pdf.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2555). คู่มือการดำเนินงานหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 (ปรับปรุง พ.ศ. 2555). กรุงเทพฯ: กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ.

คณะกรรมการส่งเสริมคุณธรรมแห่งชาติ. (2561). ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการส่งเสริมคุณธรรมแห่งชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561. สืบค้น 5 มีนาคม 2565, จาก https://www.nmpc.go.th/tmp/1/e0cda14956-11-2-2561.pdf.

ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2556). การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย, 5(1), 7-20.

ปัณพร ศรีปลั่ง และ พงศ์ประเสริฐ หกสุวรรณ. (2558) การศึกษาเพื่อพัฒนาจริยธรรมของนักศึกษาด้วยกระบวนการอภิปัญญา. วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม, 5(2), 7-16.

พัชรา ตันติประภา และ บัวรัตน์ ศรีนิล. (2553). การสอนจริยธรรมในชั้นเรียนธุรกิจ : มุมมองของนักศึกษาและอาจารย์. วารสารบริหารธุรกิจ, 33(127), 9-34.

Erffmeyer, R. C., Keillor, B. D., & LeClair, D. T. (1999). An empirical investigation of Japanese consumer ethics. Journal of Business Ethics, 18, 35-50.