องค์ประกอบคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานในบริษัทเอกชน

ผู้แต่ง

  • เจษฎา เลิศวารีเวช วิทยาลัยการเมืองและการปกครอง มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
  • นัทนิชา โชติพิทยานนท์ วิทยาลัยการเมืองและการปกครอง มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

คำสำคัญ:

คุณภาพชีวิตการทำงาน, ประสิทธิภาพในการทำงาน, พนักงานในบริษัทเอกชน

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงองค์ประกอบคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานในบริษัทเอกชน เนื่องจากคุณภาพชีวิตการทำงานถือว่าเป็นสิ่งที่สำคัญอย่างยิ่ง เพราะพนักงานจัดเป็นทรัพยากรที่มีค่าและมีความสำคัญต่อองค์กร ดังนั้น หากองค์กรมีสภาพแวดล้อม และบรรยากาศในสถานที่ทำงานที่มีความเหมาะสมและเอื้อต่อการทำงาน คือ ทำให้ผู้ปฏิบัติงานมีความรู้สึกที่ดีต่องาน มีความมั่งคง ทำให้เกิดความสุขในการทำงาน ย่อมทำให้เกิดประสิทธิภาพในการทำงานที่ดีตามมาในที่สุด โดยในการศึกษาครั้งนี้ทำการรวบรวมแนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวกับคุณภาพชีวิตการทำงาน และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อนำมาสังเคราะห์เป็นองค์ประกอบคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานในบริษัทเอกชน สรุปได้ว่า องค์ประกอบคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานในบริษัทเอกชน ประกอบด้วย 8 ปัจจัย คือ 1. องค์ประกอบด้านผลตอบแทนที่เหมาะสม 2. องค์ประกอบด้านสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม 3. องค์ประกอบด้านโอกาสในการพัฒนาความสามารถ 4. องค์ประกอบด้านความก้าวหน้าและความมั่นคงในงาน 5. องค์ประกอบด้านความสัมพันธ์กับบุคคลอื่นในที่ทำงาน 6. องค์ประกอบด้านลักษณะการบริหารงาน 7. องค์ประกอบด้านภาวะอิสระจากงาน และ 8. องค์ประกอบด้านความภูมิใจองค์กร

References

กิติคุณ ซื่อสัตย์ดี. (2557). คุณภาพชีวิตการทำงานกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของเจ้าพนักงานชวเลข สังกัดสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกริก.

ชวลิต ศุภศักดิ์ธำรง. (2564). คุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานองค์การภาคเอกชน. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 9(4), 1526-1538.

ณัชยศ โมธินา. (2566). การศึกษาคุณภาพชีวิตของพนักงาน Start up แห่งหนึ่ง. สารนิพนธ์การจัดการมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล.

ทัศนีย์ ชาติไทย. (2559). คุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากรในมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. รายงานการวิจัย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

ธงชัย สันติวงษ์. (2542). การบริหารงานบุคคล (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.

มัณฑณา เพชรมณี. (2552). คุณภาพชีวิตการทำงานของลูกจ้างรับเหมาช่วงภายหลังประกาศใช้พระราชบัญญัติคุ้มครอง แรงงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2551. สารนิพนธ์พัฒนาแรงงานและสวัสดิการมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

รณัชฤดี ป้องกันภัย. (2557). คุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานการเคหะแห่งชาติ: กรณีศึกษาพนักงานผู้ปฏิบัติหน้าที่ในสำนักงานใหญ่. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

สมพงศ์ เกษมสิน. (2523). การบริหาร (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.

สมพงศ์ รัตนนุพงศ์. (2558). คุณภาพชีวิตในการทำงานกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานศูนย์ข่าว SMM. สาร นิพนธ์พัฒนาแรงงานและสวัสดิการมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สมยศ นาวีการ. (2549). การบริหารและพฤติกรรมองค์กร (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: บรรณกิจ 1991.

สุดารัตน์ ครุฑสึก. (2557). ปัจจัยคุณภาพชีวิตในการทำงานของพนักงาน ความผูกพันต่อองค์กรและการสื่อสารในองค์กร ส่งผลต่อการเป็นสมาชิกที่ดีต่อองค์กรของพนักงานเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

สุวัฒน์ มหัตนิรันดร์กุล, วิระวรรณ ตันติพิวัฒนสกุล, วนิดา พุ่มไพศาลชัย, กรองจิตต์ วงศ์สุวรรณ และราณี พรมานะจิรังกุล. (2540). เปรียบเทียบแบบวัดคุณภาพชีวิตขององค์การอนามัยโลกทุก 100 ตัวชี้วัดและ 26 ตัวชี้วัด. เชียงใหม่: โรงพยาบาลสวนปรุง จังหวัดเชียงใหม่.

อัครเดช ไม้จันทร์. (2560). ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานกลุ่มอุตสาหกรรมติดตั้งเครื่องจักรสายการผลิตในจังหวัดสงขลา. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

อุสุมา ศักดิ์ไพศาล. (2556). คุณภาพชีวิตในการทำงานที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท อินเตอร์ เรียลตี้ แมเนจเม้นท์ จำกัด. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2025-07-01

How to Cite

เลิศวารีเวช เ., & โชติพิทยานนท์ น. . (2025). องค์ประกอบคุณภาพชีวิตการทำงานของพนักงานในบริษัทเอกชน. วารสารการบริหาร การจัดการ และการพัฒนาที่ยั่งยืน, 3(2), 585–594. สืบค้น จาก https://so15.tci-thaijo.org/index.php/jamsd/article/view/1695