ผลกระทบมูลเหตุจูงใจการตกแต่งงบการเงิน ที่มีต่อรูปแบบการปรับปรุงบัญชีของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

Main Article Content

วรรณภา อิมะไชย์

บทคัดย่อ

           งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อทดสอบความสัมพันธ์ และ 2) เพื่อศึกษาผลกระทบมูลเหตุจูงใจการตกแต่งงบการเงิน ที่มีต่อรูปแบบการปรับปรุงบัญชีของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เป็นวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้บริหารฝ่ายบัญชีบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย จำนวน 167 คน สุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple Random Sampling) เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามผ่านระบบออนไลน์และด้วยตนเอง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์สหสัมพันธ์แบบพหุคูณ และการวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า 1) มูลเหตุจูงใจในการตกแต่งงบการเงิน ด้านแรงกดดันจากตลาดและนักลงทุน และด้านการปฏิบัติตามเงื่อนไขทางการเงินของเจ้าหนี้มีความสัมพันธ์และผลกระทบเชิงบวกกับรูปแบบการปรับปรุงบัญชี 2) มูลเหตุจูงใจในการตกแต่งงบการเงิน ด้านแรงกดดันจากผู้ถือหุ้น การรักษาสถานะทางการเงิน และการบริหารภาษี ไม่มีความสัมพันธ์และผลกระทบเชิงบวกกับรูปแบบการปรับปรุงบัญชี ดังนั้นการวิจัยนี้สามารถนำไปสู่การปรับปรุงกลยุทธ์ในการกำกับดูแลการเงินของบริษัทจดทะเบียน รวมถึงการพัฒนาเครื่องมือหรือมาตรการที่ช่วยเสริมสร้างความโปร่งใสในการจัดทำงบการเงิน เพื่อลดความเสี่ยงจากการตกแต่งข้อมูลและเพิ่มความเชื่อมั่นจากนักลงทุนและผู้ถือหุ้น

Article Details

How to Cite
อิมะไชย์ ว. (2025). ผลกระทบมูลเหตุจูงใจการตกแต่งงบการเงิน ที่มีต่อรูปแบบการปรับปรุงบัญชีของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. Journal of Integration Social Sciences and Development, 5(1), 122–130. สืบค้น จาก https://so15.tci-thaijo.org/index.php/JISSD/article/view/1782
บท
บทความวิจัย

References

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2567). รายชื่อบริษัทจดทะเบียน/หลักทรัพย์. สืบค้นเมื่อ 24 พฤจิกายน 2567. จาก https://www.set.or.th/th/market/get-quote/stock/

ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2565). รายงานประจำปี 2565. สืบค้นเมื่อ 21 พฤศจิกายน 2567 จาก https://www.bot.or.th /th/research-and-publications/reports/annual-report.html

บุญชม ศรีสะอาด. (2554). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์บุญศิริ.

สมบัติ ท้ายเรือคำ. (2552). ระเบียบวิธีวิจัยสำหรับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 8. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์. (2566). ลงทุนอย่างรู้เท่าทัน : การตกแต่งงบการเงินในบริษัทจดทะเบียน. สืบค้นเมื่อ 24 พฤศจิกายน 2566 จาก file:///C:/Users/User/Desktop /อ%20แม่/ตกแต่งบัญชี%20กลต.pd.

Aaker, D.A., Kumar, V. and Day, G. (2001). Marketing Research. New York: John Wiley and Sons.

Black, K. (2006). Business Statistics: for Contemporary Decision Making. 4th ed. New York: John Wiley and Son.

Campa, D. (2020). Earnings management tools during financial difficulties: Evidence from French unlisted companies. Accounting Auditing Control, 3(26).

Cohen, D. A., Dey, A., & Lys, T. Z. (2008). Real and accrual-based earnings management in the pre- and post-Sarbanes-Oxley periods. The Accounting Review, 83(3), 757-787.

Dechow, P., & Skinner, D. (2000). Earnings management: Reconciling the views of accounting academics, practitioners, and regulators. Accounting Horizons, 14(2), 235-250.

Dichev, I. D., & Skinner, D. J. (2002). Large-sample evidence on the debt covenant hypothesis. Journal of Accounting Research, 40(4), 1091-1123.

Graham, J. R., Harvey, C. R., & Rajgopal, S. (2005). The economic implications of corporate financial reporting. Journal of Accounting and Economics, 40(1-3), 3-73.

Gunny, K. A. (2010). The influence of corporate governance on earnings management: Evidence from the pre- and post-SOX periods. Journal of Accounting and Economics, 49(1-2), 122-142.

Hair, J.F., Black, W.C. and erson, R.E. (2006). Multivariate Data Analysis. 6th ed. New Jersey: pearson.

Kieso, D. E., Weygandt, J. J., & Warfield, T. D. (2020). Intermediate Accounting (17th ed.). Wiley.

Roychowdhury, S. (2006). Earnings management through real activities manipulation. Journal of Accounting and Economics, 42(3), 335-370.

Scott, W. R. (2003). Financial Accounting Theory (3rd ed.). Prentice Hall.

Taro Yamane. (1973). Statistics: an introductory analysis, 7th ed. New York: New York: Harper & Row.