กระบวนการนโยบายสาธารณะโครงการชุมชนยั่งยืนเพื่อแก้ปัญหายาเสพติดแบบครบวงจรตามยุทธศาสตร์ชาติ: นวัตกรรมกลไกความร่วมมือของชุมชน

ผู้แต่ง

  • ณัฏฐวิชฌ์ ราชแก้ว มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

คำสำคัญ:

ยุทธศาสตร์ชาติ , แก้ปัญหายาเสพติด, ชุมชนยั่งยืน, ชุมชนบำบัด

บทคัดย่อ

     โครงการชุมชนยั่งยืนเพื่อแก้ปัญหายาเสพติดแบบครบวงจรตามยุทธศาสตร์ชาติ เป็นโครงการที่สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ได้มีนโยบายให้สถานีตำรวจทุกแห่งดำเนินการ โดยนำรูปแบบการบำบัดฟื้นฟูผู้ใช้ยาเสพติดโดยชุมชนเป็นฐาน (Community Based Treatment: CBTx) มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด จากการศึกษาพบว่ากระบวนการนโยบายสาธารณะของโครงการยังมีประเด็นที่เป็นอุปสรรคหรือประเด็นที่จะทำให้นโยบายไม่สามารถดำเนินการได้ต่อเนื่อง โดยมีข้อค้นพบ ดังต่อนี้ 1) การค้นหาผู้เสพติด และการนำเข้ารับการบำบัดยังไม่มีประสิทธิภาพไม่สามารถคัดแยกเป้าหมายเพื่อดำเนินตามมาตรการได้อย่างตรงจุด 2) การบริหารจัดการไม่มีหลักสูตรในการบำบัดที่ชัดเจน ขาดงบประมาณ ขาดเจ้าหน้าที่ เข้ามาร่วมในกระบวนการ 3) งบประมาณไม่สอดคล้องกับกิจกรรมและระยะเวลาดำเนินการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบางพื้นที่ไม่สามารถสนับสนุนงบประมาณได้ เนื่องจากไม่มีโครงการในแผนพัฒนาท้องถิ่น  4) สภาพแวดล้อมในชุมชนไม่เอื้ออำนวย 5. ความร่วมมือของประชาชน และการบูรณาการของภาคส่วนราชการไม่ชัดเจน

References

กระทรวงยุติธรรม. (2566). แผนปฏิบัติการภายใต้นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการป้องกันปราบปราม และแก้ไขปัญหายาเสพติดประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566. สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด. กระทรวงยุติธรรม.

กระทรวงยุติธรรม. (2565). แผนปฏิบัติการด้านการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด พ.ศ. 2565. สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด.กระทรวงยุติธรรม.

นิตยา ฤทธิ์ศรี. (2565). รูปแบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ใช้ยาเสพติดโดยชุมชุมเป็นศูนย์กลาง: กรณีศึกษาในหมู่บ้านแห่งหนึ่ง อำเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม. วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม, 19 (2), 50–63.

ธนวัฒน์ พิมลจินดา. (ม.ป.ป.). เอกสารคำสอนวิชา นโยบายสาธารณะ (Public Policy). รหัสวิชา 36051760. หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา.

สถาบันบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดแห่งชาติบรมราชชนนี และโรงพยาบาลธัญญารักษ์ภูมิภาค. (2562). แนวทางการดำเนินงานการบำบัดฟื้นฟูโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน และแนวปฏิบัติที่ดี [Community based treatment and rehabilitation (CBTx) and Best Practices]. (พิมพ์ครั้งที่ 1). นนทบุรี: เดอะกราฟิโก ซิสเต็มส์ จำกัด.

สัญญา เคณาภูมิ. (2561). กระบวนการวิเคราะห์นโยบายสาธารณะภายใต้กรอบแนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์ (Process of Public Analysis under Public Administration Theories). วารสารนวัตกรรมการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน, 6(2), 6-8.

ศักดิ์ หมู่ธิมา. (2561). การจัดการแบบมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันปัญหายาเสพติดในกรุงเทพมหานคร : กรณีศึกษาเขตสวนหลวง. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี,13(2), 11-25

ศิวพงศ์ ทองเจือ, ณวรา นราราษฎร และคณะ. ( มปป.). นโยบายสาธารณะกับการออกแบบชุมชนเมือง. สาขาวิชาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต.

UNODC World Drug Report (2022). Highlights trends on cannabis post-legalization, environmental impacts of illicit drugs, and drug use among women and youth. (n.d.). https://www.unodc.org/. Retrieved December 28, 2022, ค้นเมื่อ 1 กุมภาพันธ์ 2567, จาก https://www.unodc.org/unodc/frontpage/2022/June/unodc-world-drug-report-2022-highlights-trends-on-cannabis-post-legalization--environmental-impacts-of-illicit-drugs--and-drug-use-among-women-and-youth.html

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-06-02

How to Cite

ราชแก้ว ณ. . (2024). กระบวนการนโยบายสาธารณะโครงการชุมชนยั่งยืนเพื่อแก้ปัญหายาเสพติดแบบครบวงจรตามยุทธศาสตร์ชาติ: นวัตกรรมกลไกความร่วมมือของชุมชน. วารสารการบริหาร การจัดการ และการพัฒนาที่ยั่งยืน ISSN: 2985-2366 (Online), 2(2), 401–414. สืบค้น จาก https://so15.tci-thaijo.org/index.php/jamsd/article/view/614