แนวคิดใหม่ในการบริการภาครัฐ: สู่การบริการที่ประชาชนเป็นศูนย์กลาง

ผู้แต่ง

  • วาสนา กิรัมย์ -
  • เจษฎา กิรัมย์
  • อัษฎา อิงเอนุ
  • พระครูสุวรรณคุณประสิทธิ์ สุคำภา

คำสำคัญ:

การบริการสาธารณะแนวใหม่;, การบริหารภาครัฐ;, ประชาชน;, พลเมือง;, โลกาภิวัตน์

บทคัดย่อ

บทความนี้ศึกษาแนวคิดการบริการสาธารณะแนวใหม่ (New Public Service) ซึ่งเป็นแนวทางการพัฒนาการบริการภาครัฐให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของโลกในยุคโลกาภิวัตน์ โดยเน้นการยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง การมีส่วนร่วมของประชาชน และการทำงานร่วมกันระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม เพื่อให้บริการที่ตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน บทความเปรียบเทียบแนวคิดนี้กับการบริหารสาธารณะแบบดั้งเดิมและการจัดการสาธารณะแบบใหม่ พร้อมทั้งวิเคราะห์สถานการณ์การบริการสาธารณะในประเทศไทย และเสนอข้อเสนอแนะในการนำแนวคิดการบริการสาธารณะแนวใหม่ไปปรับใช้เพื่อพัฒนาการบริการภาครัฐให้ดียิ่งขึ้น

References

โชคสุข กรกิตติชัย. (2560). ทิศทางการปกครองส่วนท้องถิ่นตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560. กรุงเทพฯ: สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.

ไชยนันท์ ปัญญาศิริ และ สุมิตตรา เจิมพันธ์. (2563).โครงสร้างตามสถานการณ์ขององค์การภาครัฐไทยตามแนวคิดการบริการสาธารณะแนวใหม่. วารสารวิชาการสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย (สสอท.), 26(2), 112-123.

ปกรณ์ ศิริประกอบ. (2565). 3 พาราไดม์ทางรัฐประศาสนศาสตร์: แนวคิด ทฤษฎี และการนำไปปฏิบัติจริง. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ประยูร กาญจนดุล. (2547). คำบรรยายกฎหมายปกครอง. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พิมพ์กมล เกษแก้ว. (2563). กระบวนทัศน์การบริหารสาธารณะ. วารสารรัชต์ภาคย์, 14(34), 276-285.

อรทัย ก๊กผล. (2552). เคล็ดลับการจัดบริการสาธารณะท้องถิ่น: บทเรียนจากรางวัลพระปกเกล้า’ 51. กรุงเทพฯ: บริษัท ส. เจริญ การพิมพ์ จำกัด.

อลงกต สารกาล. (2562). บทวิเคราะห์การบริหารงานภาครัฐไทย: จากอดีตถึงปัจจุบัน. วารสารสถาบันพระปกเกล้า, 17 (3), 47-78.

Denhardt, J. V., & Denhardt, R. B. (2000). The New Public Service: Serving Rather than Steering. Public Administration Review, 6 0(6), 549-559.

Denhardt, J. V., & Denhardt, R. B. (2015). The New Public Service: Serving, not Steering. Routledge.

Gaston Jèze. (1914). Les Principes Généraux Du Droit Administration. (Vol. 1). M. Giard & E. Brière.

Sylvia Horton. (2006). New public management: its impact on public servant's identity: An introduction to this symposium. International Journal of Public Sector Management, 19(6), 533-542.

Zhao Yueqiang and Xu Ming. (2020). Research on Public Service of Smart City. The Frontiers of Society, Science and Technology, 2 (17), 107-116.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-09-25

How to Cite

กิรัมย์ ว., กิรัมย์ เ., อิงเอนุ อ., & สุคำภา พ. (2024). แนวคิดใหม่ในการบริการภาครัฐ: สู่การบริการที่ประชาชนเป็นศูนย์กลาง. วารสารการบริหาร การจัดการ และการพัฒนาที่ยั่งยืน ISSN: 2985-2366 (Online), 2(3), 734–745. สืบค้น จาก https://so15.tci-thaijo.org/index.php/jamsd/article/view/598