แนวทางการกำหนดกลยุทธ์การจัดการเรียนการสอนในระดับบัณฑิตศึกษา กรณีศึกษากระบวนการจัดทำการค้นคว้าอิสระเพื่อการแข่งขันในระบบการศึกษายุคใหม่
คำสำคัญ:
กำหนดกลยุทธ์, การค้นคว้าอิสระ, การแข่งขัน, ระบบ, การศึกษายุคใหม่บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อแนวทางการกำหนดกลยุทธ์ การจัดการเรียนการสอนในระดับบัณฑิตศึกษากรณีศึกษากระบวนการจัดทำการค้นคว้าอิสระเพื่อการแข่งขันในระบบการศึกษายุคใหม่ วิธีที่ใช้ในการศึกษาข้อมูลทุติยภูมิ โดยการรวบข้อมูลเอกสารต่าง ๆ อาทิ หนังสือ ตำรา เอกสารวิชาการ งานวิจัย และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่เกี่ยวข้อง มีข้อค้นพบมหาวิทยาลัยควรนำกลยุทธ์ต่างๆ มาช่วยลดขั้นตอนกระบวนการการจัดทำค้นคว้าอิสระ เช่น รายงานความก้าวหน้าในการจัดทำค้นคว้าอิสระ หรือรายงานการค้นคว้าอิสระ หรือลดต้นทุนในการเรียนโดยใช้ระบบสนับสนุนผู้เรียนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ควบคุมโดยอาจารย์ที่ปรึกษา เป็นการศึกษาค้นคว้าที่เป็นความคิดริเริ่มของนักศึกษา นักศึกษาต้องสอบปากเปล่าในการจัดทำค้นคว้าอิสระ ที่เป็นระบบเปิดให้นักศึกษาและผู้สนใจทั่วไปสามารถเข้าร่วมรับฟังได้ อันส่งผลทำให้การค้นคว้าอิสระมีความยุ่งยากน้อยกว่า
References
กนกพรรณ รัตนกรี. สืบค้นเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม 2566, จาก http://www.admin.navy.mi.th/ document/general/LgThai005.pdf
กรุณา วงษ์เทียนหลาย. (2562). การบริหารงานวิจัยสู่ความเป็นเลิศในคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา.วารสารการบริหารและนวัตกรรมการศึกษา, 2(3), 83-98.
แก้วตา เจือนาค และอารีย์ วรเตชะคงคา. (2560). การออกแบบการเรียนรูเพื่อศตวรรษที่ 21. งานประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 9 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม 28 - 29 กันยายน, หน้า 281-289.
จารุภัส จันทรเกษ และคณะ (2566). คู่มือการพิมพ์วิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระ. ปทุมธานี: ศูนย์หนังสือและโรงพิมพ์มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
ชณิชา เพชรปฐมชล. (2561). การสังเคราะห์งานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา เพื่อกำหนดมโนทัศน์และกลยุทธ์ส่งเสริมการทำวิจัย.ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิจัย วัดผลและสถิติการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.
พระมหาสมบูรณ์ วุฑฺฒิกโร และ คณะ (2561). คู่มือดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยกรุงเทพสุวรรณภูมิ (2566). คู่มือสารนิพนธ์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยกรุงเทพสุวรรณภูมิ.
มหาวิทยาลัยเกริก (2561). ระเบียบมหาวิทยาลัยเกริกว่าด้วยการทำวิทยานิพนธ์ การค้นคว้าอิสระ การสอบประมวลความรู้ และการสอบวัดคุณสมบัติ ระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2560. เอกสารอัดสำเนา, มหาวิทยาลัยเกริก
มหาวิทยาลัยทักษิณ, สืบค้นเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2566, จาก http://grad.tsu.ac.th/page.php?idm=4&mid=401)
มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี. (2564). คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. (2566). สืบค้นเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2566, จากhttp://grad.ssru.ac.th/useruploads/files/ 20230512/cc53f8e024c1c1fd448a35b8f878467c2847c1d3.pdf.
มหาวิทยาลัยรามคำแหง. (2564). คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น, สืบค้นเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2566, จาก www.western.ac.th blogs › บริการนิสิต-ปริญญาโท › วิทยานิพนธ์.
มหาวิทยาลัยสวนดุสิต. (2563). รูปแบบการพิมพ์ (Format) ดุษฎีนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และการค้นคว้าอิสระ (พ.ศ. 2563). สืบค้นเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2566, จาก http://www.graduate.dusit.ac.th/main/Download/Format_Turnitin/ Format_Manual.pdf)
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2564). ชุดวิชา 23787 การศึกษาค้นคว้าอิสระ. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. คู่มือวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, สืบค้นเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2566, จาก https://www.ubu.ac.th/web/files_up/ 66f2017083015271974.pdf
วิชัย วงษ์ใหญ่. สี่เสาหลักของการศึกษา. สืบค้นเมื่อ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2566, จาก www.curriculumandlearning.com › upload › สี่เสาหลักทางการศึกษา.
วีรนุช ดรุณสนธยา. (2564). รูปแบบการบริหารจัดการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558. การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 53, วันเสาร์ที่ 18 ธันวาคม ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่, หน้า 110-126.
สืบพงษ์ ปราบใหญ่, ยศระวี วายทองคำ และรุ่งรัตนา เจริญจิตต์ (2562). แนวทางการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาในศตวรรษที่ 21. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 6(10), 5324-5343.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2552). รายงานการสังเคราะห์งานวิจัยเกี่ยวกับคุณภาพการศึกษาไทย: การวิเคราะห์อภิมาน (Meta-analysis). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.