รัฐประศาสนศาสตร์สมัยใหม่เพื่อการพัฒนาสังคมที่มีประสิทธิภาพและยั่งยืน

ผู้แต่ง

  • ศศินันท์ โต๊ะชาลีศรีทิน สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

บทคัดย่อ

รัฐประศาสนศาสตร์เป็นศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานของภาครัฐและภาคเอกชนและมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ได้มีการเปลี่ยนแปลงมาเป็นรัฐประศาสนศาสตร์สมัยใหม่ที่พยายามนำหลักการแยกการเมืองกับการบริหารมาใช้ และวางหลักการจัดการแนวใหม่ให้กับรัฐประศาสนศาสตร์ในด้านการปฏิบัติได้ปฏิรูประบบราชการตามความคิดของการสร้างระบบราชการใหม่ การสร้างสังคมที่มีประสิทธิภาพและยั่งยืนต้องเป็นการพัฒนาที่มีความสมดุล ได้แก่ เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ไม่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของสังคม วัฒนธรรม และความเป็นอยู่ของประชาชนแบบทำลายล้าง และไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม รัฐประศาสนศาสตร์สมัยใหม่ถือเป็นแนวคิดหนึ่งที่สำคัญในการพัฒนาสังคมที่มีประสิทธิภาพและยั่งยืน

References

ติน ปรัชญพฤทธิ์. (2535). รัฐประศาสนศาสตร์เปรียบเทียบ: เครื่องมือในการบริหารประเทศ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชุมพร สังขปรีชา. (2529). บริหารรัฐกิจใหม่. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

ทรงพล โชติกเวชกุล และคณะ. (2563). รัฐประศาสนศาสตร์กับการพัฒนาท้องถิ่นที่ยั่งยืน. Journal of Modern Learning Development 5(1): 262-271.

ประดิษฐ์ ดีวัฒนกุล, ธนภาค บุ้งจันทร์ และธนากร สุระขันธ์. (2564). วิวัฒนาการรัฐประศาสนศาสตร์สมัยใหม่. วารสารรัชตภาคย์ 15(42): 13-23.

พระครูปลัดประวิทย์ และพระครูใบฎีกาอภิชาติ. (2565). รัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่กับการพัฒนาที่ยั่งยืน. วารสารศิลปะศาสตร์ราชมงคลสุวรรณภูมิ 4(3): 587-599.

พันธวัฒน์ ภูมิรัง และวิทยา ทองดี. (2565). สังคมไทยกับการพัฒนาแบบยั่งยืนตามแนวพระพุทธศาสนา. พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์. (2553). การจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน: พื้นฐานการศึกษาด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ไทยสัมพันธ์.

วินิต ทรงประทุม. (2539). “ความยากและความหมายของรัฐประศาสนศาสตร์” ในวินิต ทรงประทุม และวรเดช จันทรศร. (บรรณาธิการ). การประสานแนวคิดและขอบข่ายของรัฐประศาสนศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

สมพร แสงชัย. (2550). สิ่งแวดล้อม: อุดมการณ์ การเมืองและการพัฒนาที่ยั่งยืน. กรุงเทพฯ: สำนักพัฒนาบัณฑิตศึกษา สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

สร้อยตระกูล (ติวยานนท์) อรรถมานะ. (2540). สาธารณบริหารศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สรายุทธ กันหลง และสัมฤทธิ์ กางเพ็ง. (2555). เอกสารประกอบการสอนวิชา ระเบียบวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์ (Research Methodology in Public administration). ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น.

สัมฤทธิ์ ยศสมศักดิ์. (2548). หลักรัฐประศาสนศาสตร์ แนวคิดและทฤษฎี (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: บริษัท รัตนพรชัย จำกัด.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2559). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560-2564. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2562). ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561-2580 (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. (2556). วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน. ปทุมธานี: สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ.

อนันตชัย ยูรประถม และคณะ. (2557). ความหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน. กรุงเทพฯ: ศูนย์พัฒนาความรับผิดชอบต่อสังคม ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย.

อภิชาต สถิตนิรามัย. (2555). รัฐธรรมนูญ การกระจายอำนาจและการมีส่วนร่วมของประชาชน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เดือนตุลา.

อุทัย เลาหวิเชียร. (2541). รัฐประศาสนศาสตร์ : ลักษณะวิชาและมิติต่าง ๆ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ที พี เอ็น เพรส.

อุทัย เลาหวิเชียร, ปรัชญา เวสารัชช์ และเฉลิมพล ศรีหงษ์. (2523). “รัฐประศาสนศาสตร์: ขอบข่ายสถานภาพและพัฒนาการในประเทศไทย. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: แสงรุ้งการพิมพ์.

Denhardt, R. B., & Denhardt, J. V. (2007). The new public service: Serving, not steering. New York: M.E. Sharpe.

Denhardt, R. B., & Denhardt, J. V. (2015). Public administration: An action orientation (8th ed.). London: Cengage Learning.

Henry N. (2009). Public Administration and Public Affairs. New York: Longman.

Menzel, D.C. (2010). Public administration and the development of effective governance. New York: M.E. Sharpe.

Perry, J. L. (2015). Public administration: An introduction. New York: Routledge.

Rainey, H. G. (2014). Understanding and managing public organizations (5th ed.). California: Jossey-Bass.

Roberts, N. C. (2004). Public deliberation in an age of direct citizen participation. American Review of Public Administration, 34(4), 315-353. https://doi.org/10.1177/0275074004269380

Roosa, S. A. (2010). Sustainable Development Handbook. Georgia Atlanta: Fairmont Press.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-25

How to Cite

โต๊ะชาลีศรีทิน ศ. (2024). รัฐประศาสนศาสตร์สมัยใหม่เพื่อการพัฒนาสังคมที่มีประสิทธิภาพและยั่งยืน. วารสารการบริหาร การจัดการ และการพัฒนาที่ยั่งยืน ISSN: 2985-2366 (Online), 2(4), 853–865. สืบค้น จาก https://so15.tci-thaijo.org/index.php/jamsd/article/view/1408