ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบของการไลฟ์สดที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภคทางแพลตฟอร์ม TikTok ในยุคดิจิทัล ในเขตพื้นที่จังหวัดนนทบุรี

ผู้แต่ง

  • Chalita Chaitamat -
  • แสงเทียน มีมา คณะบริหารธุรกิจ/มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์
  • ชลิตา ไชยตะมาตย์ คณะบริหารธุรกิจ/มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์

คำสำคัญ:

การตัดสินใจซื้อ , ติ๊กต๊อก , ไลฟ์สด , องค์ประกอบของการไลฟ์สด , ความสัมพันธ์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับความสำคัญขององค์ประกอบของการไลฟ์สดที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อ 2) ศึกษาระดับความสำคัญของกระบวนการตัดสินใจซื้อสินค้าออนไลน์ และ 3) วิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบของการไลฟ์สดที่มีผลต่อการตัดสินใจของซื้อของผู้บริโภคในจังหวัดนนทบุรี โดยใช้แบบสอบถาม เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล จากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 400 ชุด สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่
ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานด้วยค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน

ผลการวิจัย พบว่า ระดับความสำคัญขององค์ประกอบของการไลฟ์สดที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อ ในภาพรวม และ
รายด้านอยู่ในระดับมาก โดยด้านเนื้อหาโฆษณา มีค่าเฉลี่ยสูงสุดเป็นอันดับแรก รองลงมาคือ ด้านการเรียนรู้แบบสังเกต
และ  ความคิดเห็นเชิงความรู้สึก ตามลำดับ ระดับความสำคัญของความสำคัญของกระบวนการตัดสินใจซื้อสินค้าออนไลน์ 
ในภาพรวมและรายขั้นอยู่ในระดับมาก โดย ขั้นการตัดสินใจซื้อ  มีค่าเฉลี่ยสูงสุดเป็นอันดับแรก รองลงมาคือ ขั้นการประเมิน และขั้นการรับรู้ปัญหา ตามลำดับ ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า องค์ประกอบของการไลฟ์สด  4 ด้าน มีความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบของการไลฟ์สดที่มีผลต่อการตัดสินใจของซื้อของผู้บริโภคทางแพลตฟอร์ม TikTok  ในจังหวัดนนทบุรี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01

References

กัลยรัตน์ โตสุขศรี (2552) พฤติกรรมและปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อแชมพูสระผม แพนทีนโปร-วี ใน เขตกรุงเทพมหานคร (การศึกษาเฉพาะบุคคลปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

กุณฑลี รี่นรมย์. (2553) การวิจัยการตลาด พิมพ์ครั้งที่ 7 กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ณัฏฐา อุ่ยมานะชัย (2556) ผู้ทรงอิทธิพลในโลกออนไลน์กับพลังการบอกต่อ วารสารนักบริหาร 3(3), 47 – 51

นำพงศ์ ตรงประสิทธิ์ (2554) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อน้ำดื่มของผู้บริโภคในเขตอำเภอคอนสาร จังหวัดชัยภูมิ (การศึกษาค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต) มหาวิทยาลัยขอนแก่น,ขอนแก่น

ปิยนุช จึงสมานนุกูล (2563) องค์ประกอบของแอปพลิเคชั่น TikTok ที่ทำให้เกิดแรงกระตุ้น ในการซื้อสินค้าของกลุ่มเจเนอเรชั่นซี ในประเทศไทย มหาวิทยาลัยขอนแก่น สารนิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ปริญญาการจัดการมหาบัณฑิต วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล

ภัสสรนันท์ อเนกธรรมกุล (2553) ผลกระทบจากการใช้บุคคลที่มีชื่อเสียง (Celebrity) ที่เป็นผู้นำ เสนอสินค้าหลากหลายตราสินค้าในงานโฆษณา การศึกษาเฉพาะบุคคลปริญญามหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ศิรประภา นพชยยา. (2558 :13). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อกาแฟจากร้านคาเฟ่ อเมซอน ในสถานีบริการน้ำมัน ปตท. ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล การค้นคว้าอิสระ หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตร์ และการบัญชีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ, (2546) การบริหารการตลาดยุคใหม่. กรุงเทพฯ : บริษัท ธรรมสาร จำกัด

ศุภรานันท์ กาญจนกุล. (2560). พฤติกรรมและความคิดเห็นของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครต่อการรับชม Live VideoStreaming. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิบัณฑิต.

สุจินดา เยาวกุลพัฒนา (2560) กระบวนการตัดสินใจซื้อน้ำผลไม้พร้อมดื่ม 100% ของคนในกรุงเทพมหานคร.บริหมหาบัณฑิต สาขาการเงินและการธนาคาร, มหาวิทยาลัยรามคำแหง เสกสรร สายสสี ณัฐวุฒิ คําทวี

Cochran, M. (1993). International Handbook of Child Care Policies and Programs. Westport, CT: Greenwood Press.

Kaur, W., Balakrishnan, V., Rana, O., & Sinniah, A. (2018). Like, comment, and share on Facebook: Howeachbehaviordiffersfrom the other.Telematics and Informatics,1-12

Kotler, Philip. (1997). Principles of Marketing. New Jersey: Prentice-Hall.Inc.

Leong, L. Y., Jaafar, N. I., & Ainin, S. (2018). He effects of Facebook browsing and usage intensity on impulse purchase inf-commerce. Computers in Human Behavior, 1 6 0 - 1 7

Mukherjee,A.,&Hoyer,W.D.,(2001).Theeffectofnovelattributesonproductevaluation.Journal of consumer research, 28(3), 462-472.

Yamane, Taro. (1973). Statistics: An introductory analysis. 2th ed. New York: Harper and Row.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2025-02-27