ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้การสนับสนุนจากองค์กรกับพฤติกรรมบ่งชี้ความคงอยู่ของพนักงานในธุรกิจการบินของประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • อาทิมา ศรีวังพล ภาควิชาการพัฒนาธุรกิจและทรัพยากรมนุษย์ คณะพัฒนาธุรกิจและอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
  • จุฑารัตน์ ปิณฑะแพทย์ ภาควิชาการพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมและทรัพยากรมนุษย์ คณะพัฒนาธุรกิจและอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
  • เชฐธิดา กุศลาไสยานนท์ ภาควิชาการพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมและทรัพยากรมนุษย์ คณะพัฒนาธุรกิจและอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

คำสำคัญ:

การรับรู้การสนับสนุนจากองค์กร, พฤติกรรมบ่งชี้ความคงอยู่, ธุรกิจการบิน

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับการรับรู้การสนับสนุนจากองค์กรของพนักงานในธุรกิจการบินของประเทศไทย 2) เพื่อศึกษาระดับพฤติกรรมบ่งชี้ความคงอยู่ของพนักงานในธุรกิจการบินของประเทศไทย 3) เพื่อเปรียบเทียบการรับรู้การสนับสนุนจากองค์กรของพนักงานระหว่างกลุ่มที่มีปัจจัยส่วนบุคคลที่แตกต่างกันในธุรกิจการบินของประเทศไทย 4) เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมบ่งชี้ความคงอยู่ของพนักงานระหว่างกลุ่มที่มีปัจจัยส่วนบุคคลที่แตกต่างกันในธุรกิจการบินของประเทศไทย และ 5) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้การสนับสนุนจากองค์กรกับพฤติกรรมบ่งชี้ความคงอยู่ของพนักงานในธุรกิจการบินของประเทศไทยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ พนักงานประจำที่ปฏิบัติงานภาคพื้นดินและบนอากาศยานในธุรกิจการบินของประเทศไทย ประกอบด้วย บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) บริษัท ไทยสมายล์แอร์เวย์ จำกัด และบริษัท สายการบินนกแอร์ จำกัด (มหาชน) จำนวน 400 คน ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับการรับรู้การสนับสนุนจากองค์กรของพนักงานในธุรกิจการบินของประเทศไทย โดยรวมอยู่ในระดับมากทุกด้าน 2) ระดับพฤติกรรมบ่งชี้ความคงอยู่ของพนักงานในธุรกิจการบินของประเทศไทย โดยรวมอยู่ในระดับมากทุกด้าน 3) พนักงานที่มีปัจจัยส่วนบุคคลจำแนกตาม สถานภาพ และระยะเวลาที่ปฏิบัติงานกับสายการบินที่แตกต่างกัน พนักงานมีระดับการรับรู้การสนับสนุนจากองค์กรโดยรวมแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 4) พนักงานที่มีปัจจัยส่วนบุคคลจำแนกตาม อายุ สถานภาพ รายได้ต่อเดือน และระยะเวลาที่ปฏิบัติงานกับสายการบินที่แตกต่างกัน พนักงานมีระดับพฤติกรรมบ่งชี้ความคงอยู่โดยรวมแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ 5) ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้การสนับสนุนจากองค์กรกับพฤติกรรมบ่งชี้ความคงอยู่ของพนักงานโดยรวม อยู่ในระดับสูงมาก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

References

Khanto, P. (2016). Perceived Organization Support Job Satisfaction and Organization Commitment of Employees at TISCO Financial Group Public Company Limited and Its Affiliated Companies. [Independent Study Unpublished]. College of Innovation Management Rajamangala, University of Technology Rattanakosin. (in Thai).

Kaowratanumporn, B. (2020). Service Qualities of Cafe Business of which Affect the Patronage Decision Toward the Change after COVID-19 Situation. [Unpublished Master’s thesis]. Industrial Business and Human Resource Development, King Mongkut’s University of Technology North Bangkok. (in Thai).

Suvanseang, S. (2010). The Existence Factor of Private School Teachers in the Basic Education System in Pathumthani Education Service Area Office 2. [Unpublished Master’s thesis]. Dhurakij Pundit University. (in Thai).

Soonthorndthai, W. & Kuchaisit, W. (2015). The Reliability of Multi-target Assessment Tryouts: A Case Study for Teaching and Learning Assessment at Bangkok University. Bu Academic Review. 14(1),16. (in Thai).

Tulyakorn, S. (2019). Effect of Received Organization Support on Organizational Citizenship Behavior of Employee in Support Function Division of Sansiri PLC. [Independent Study Unpublished]. Mahidol University. (in Thai).

Jinchai, S., & Pinthapattaya, J. (2022). Organizational Operation Factors Affecting Working Behavior of Employees in Automatic Pneumatic System Manufacturing Business: A Case Study of SMC (Thailand) Limited. [Independent Study Unpublished]. Industrial Business and Human Resource Development, King Mongkut’s University of Technology North Bangkok. (in Thai).

Wongthaiwan, J. (2008). The Relationship Between Adversity Quotient, Perceived Organizational Support and Organizational Citizenship Behavior: Case Study of Nurse at Private Hospital in Nakornprathom Province. [Independent Study Unpublished]. Thammasat University. (in Thai).

Steers, R. M. (1977). Antecedents and Outcomes of Organizational Commitment. Administrative Science Quarterly. 22(1), 46–56. https://doi.org/10.2307/2391745

Osman et al., (2015). The influence of job Satisfaction, Job Motivation and Perceive Organizational Support towards Organization Citizenship (OCB): A Perspective of American-Based Organization in Kulim, Malaysia. Asian Social Science Journal, 11(21), 1–6. https://doi:10.5539/ass.v11n21p

Thiposot, S. (2013). Perceived Organizational Support Affecting Job Performance of Employees in Banking Business. [Unpublished Master’s thesis]. Rajamangala University of Technology Thanyaburi. (in Thai).

Rhoades, L., & Eisenberger, R. (2002). Perceived Organizational Support. Journal of Applied Psychology, 87, 698–714.

Charoenloi, N. (2017). Perceived Organizational Support and Perception of Organization Justice that Influences the Happiness of ground employees in Thai Air Asia. [Unpublished Master’s thesis]. Stamford International University. (in Thai).

Poompuenpol, N. (2016). Factors Influencing Employees’ Retention: A Case Study of Delmax Machinery Company Limited. [Independent Study Unpublished]. Business Engineering Management, Rajamangala University of Technology Thanyaburi. (in Thai).

Tubsook, S., & Sirikudta. S. (2019). Factors Affecting Employees’ Retention Case Study: The Concrete Products and Aggregate Company Limited in Bangkok 2. [Master’s thesis Srinakharinwirot University]. https://ir.swu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/19439/1/Bas-Con-Sararat-T.pdf. (in Thai).

Rongklad, W. (2016). The Relationship Among Organization Trust, Perceived Organizational Support and Organizational Citizenship Behavior of Employees in a Beverage and Food Company. [Independent Study Unpublished]. Faculty of Liberal Arts, Thammasat University. (in Thai).

Makanjee et al., (2006). The Effect of Perceived Organizational Support on Organizational Commitment of Diagnostic Imaging Radiographers. Journal of Applied Psychology. 12(2), 118–126. https://doi.org/10.1016/j.radi.2005.04.005

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-04-30

How to Cite

ศรีวังพล อ., ปิณฑะแพทย์ จ., & กุศลาไสยานนท์ เ. (2024). ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้การสนับสนุนจากองค์กรกับพฤติกรรมบ่งชี้ความคงอยู่ของพนักงานในธุรกิจการบินของประเทศไทย. วารสารพัฒนาธุรกิจและอุตสาหกรรม, 4(1), 31–46. สืบค้น จาก https://so15.tci-thaijo.org/index.php/Journalbid/article/view/802