ความสัมพันธ์ระหว่างเจตคติต่องาน คุณลักษณะทางอารมณ์และคุณภาพการสื่อสาร: กรณีศึกษา บริษัท พรีบิลท์ จำกัด (มหาชน)

ผู้แต่ง

  • บุญญารัศมิ์ กุลทองศิวัฒน์ บริษัท โทเทิล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น
  • พัชยา ตัณฑพาทย์ ภาควิชาการพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมและทรัพยากรมนุษย์ คณะพัฒนาธุรกิจและอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

คำสำคัญ:

การรับรู้ความสามารถตนเอง, การทำงาน, การสนับสนุนขององค์กร, การถ่ายโยงความรู้

บทคัดย่อ

การศึกษาเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างเจตคติต่องาน คุณลักษณะทางอารมณ์และคุณภาพการสื่อสาร:กรณีศึกษา บริษัท พรีบิลท์ จากัด (มหาชน) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยด้านเจตคติต่องาน ปัจจัยคุณลักษณะทางอารมณ์ และความสัมพันธ์ระหว่างเจตคติต่องาน คุณลักษณะทางอารมณ์กับคุณภาพการสื่อสาร กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ พนักงาน บริษัท พรีบิลท์ จากัด (มหาชน) เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ เครื่องที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูล ด้วยค่าสถิติ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t-test F-test และค่าสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson Product–Moment Correlation Coefficient) ผลการศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า พนักงานส่วนใหญ่ เป็นเพศชายมากกว่าเพศหญิง อายุอยู่ระหว่าง 31–40 ปี การศึกษาต่ากว่าปริญญาตรี ประสบการณ์ 1–3 ปี ผลการศึกษาพบว่า พนักงานมีเจตคติต่องานในภาพรวมอยู่ในระดับมาก คุณลักษณะทางอารมณ์อยู่ในระดับปานกลาง และด้านคุณภาพการสื่อสารภายในองค์กรอยู่ในระดับปานกลาง ตามลาดับ และพบว่า ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านเจตคติต่องาน คุณลักษณะทางอารมณ์ และคุณภาพการสื่อสาร มีความสัมพันธ์กันในระดับปานกลาง ที่ระดับนัยสาคัญที่ 0.05

References

Malithong, K. (2005). Technology and Communication for Education. Bangkok: Arun Printing House. (in Thai).

Pattanapongsa, N. (1999). Strategic Communication Campaign for Changing Human Behavior Focusing on Group Specifics. Chiang Mai : Green fence publishing house. (in Thai).

Kaewpradit, E. (2002). Educational Technology: Educational Principles and Concepts into Practice. Songkhla: Thaksin University. (in Thai).

Thiyao, S. (1995). Communication in The Organization (3rded.). Bangkok: Thammasat University. (in Thai).

Sikkhabundit, S. (1997). Writing for Communication. Bangkok: Duangkamol Publishing House. (in Thai).

Meechat, W. (2005). Public Organization Management Behavior. Bangkok: Chulalongkorn University. (in Thai).

Pholmanee, T., & Likhitwattanaset, R. (2001). The Preparation of The Quality Management System According to The International Standard ISO 9001, Operational Edition. Bangkok: Window to the World Publishing. (in Thai).

Prakobphol, R. (1997). Elements of Communication and The Process of Communication. Teaching Documents for The Main Courses and Communication Theory (13thed.). Nonthaburi: Sukhothai Thammathirat University. (in Thai).

Kaewchampa, O. (2004). Thai Language for Business Communication. Bangkok: Odeon Store.(in Thai).

Poompak, C. (1973). Psychology of Instruction. Bangkok: Thai Wattana Panich. (in Thai).

Suwanachat, T. (n.d.). Social Development, Boundaries and Concepts. 2520. http;//socialscience.igetweb.com/index.php?mo=3&art=59345 (in Thai).

Chiangkul, W. (2009). Psychology of Intelligence and Creativity. Bangkok: Sai Than. (in Thai).

Baron, R. A. (1987). Interviewer’s Moods and Reaction to Job Applicants: The Influence of Affective States on Applied Social Judgments. Journal of Applied Social Psychology, 17, 911–926.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-10-04

How to Cite

กุลทองศิวัฒน์ บ., & ตัณฑพาทย์ พ. (2023). ความสัมพันธ์ระหว่างเจตคติต่องาน คุณลักษณะทางอารมณ์และคุณภาพการสื่อสาร: กรณีศึกษา บริษัท พรีบิลท์ จำกัด (มหาชน). วารสารพัฒนาธุรกิจและอุตสาหกรรม, 3(1), 80–91. สืบค้น จาก https://so15.tci-thaijo.org/index.php/Journalbid/article/view/162