กลยุทธ์การบริหารทรัพยากรมนุษย์ที่ส่งเสริมความสำเร็จขององค์กร

ผู้แต่ง

  • มนัส ชูผกา บางซื่อโรงสีไฟเจียเม้ง จำกัด

คำสำคัญ:

กลยุทธ์การบริหาร, ทรัพยากรมนุษย์, การเสริมสร้างความสำเร็จองค์กร

บทคัดย่อ

การสร้างกลยุทธ์เป็นสิ่งที่สำคัญในการบริหารทรัพยากรมนุษย์เพื่อให้สามารถขับเคลื่อนองค์กรไปสู่ความสำเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ บทความนี้ต้องการที่จะนำเสนอกลยุทธ์ที่ได้พัฒนาขึ้นมาจากผลการวิจัยซึ่งนำมาสู่การสร้างกลยุทธ์และแนวปฏิบัติในการดำเนินกลยุทธ์ที่ทำให้องค์กรประสบความสำเร็จเพื่อเป็นการแบ่งปันความรู้อันจะเป็นประโยชน์ให้องค์กรทั้งภาคการผลิตและบริการใช้เป็นแนวทางให้พนักงานได้รับรู้การสนับสนุนจากองค์กรในการให้การดูแลในด้านการทำงาน ด้านครอบครัวและในด้านพฤติกรรมองค์กร ซึ่งพบว่าเป็นปัจจัยหลักในการนำไปสู่ความสำเร็จขององค์กร และยังสร้างเสริมความผูกพันของพนักงานได้อีกด้วย

References

Martin, Julia. (2022, 14 July). New to Strategic Planning. Asansa .https://asana.com/resources/strategic-planning?utm_campaign=NB--APAC--EN--Catch-All--All-Device--

Schermerhorn, John, R, James G. Hunt, & Richard N. Osborn. (2003). Organizational Behavior. (8th ed). USA: John Wiley & Sons.

ปัณฎารีย์ กิ่งวงศา (2563). การพัฒนารูปแบบศักยภาพผู้บริหารทรัพยากรมนุษย์ในการเป็นหุ้นส่วนทางธุรกิจอุตสาหกรรม. [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

Maslow, Abraham H. (1958). General Theory Human & Motivation. dit.dru. http://dit.dru.ac.th/home/023/Psychology/chap1-chap7.html1954:80-106.

นันทนา จงดี. (2560). แรงจูงใจตามทฤษฎี ERG และความผูกพันองค์กรของพนักงานที่มีอิทธิพลต่อผลการปฏิบัติงาน: กรณีศึกษา บริษัทผลิตรถเด็กเล่นแห่งหนึ่งในจังหวัดปทุมธานี. [ค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์] มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

Ivancevich, John M., & Michael T. Matteson. (2002). Organizational Behavior and Management. (6th ed). New York: McGraw- Hill Companies.

กฤษดา เชียรวัฒนสุข. (2560). หลักการจัดการและองค์การ. กรุงเทพฯ: ทริปเพิ้ล กรุ๊ป จำกัด.

ศศินันท์ ทิพย์โอสถ. (2556). การรับรู้การสนับสนุนจากองค์กรของพนักงานมีผลต่อการปฏิบัติงานในภาคธุรกิจธนาคาร. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

อารีรัตน์ บุญรัตน์ (2561). ปัจจัยส่วนบุคคลและการรับรู้การสนับสนุนจากองค์กรที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลต่อการปฏิบัติงานของพนักงานบริการเที่ยวบินและผู้โดยสารภาคพื้น บริษัท แพนไทย แอร์ (กรุงเทพ) จำกัด. [สารนิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

ธัญญาทิพ พิชิตการค้า. (2558). การพัฒนารูปแบบการแบ่งปันความรู้ในอุตสาหกรรมฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟ. วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 25[3], 475-483. https://doi.org/10.14416/j.kmutnb.2015.05.004

นิธิภัทร ถาวรนารถ. (2564). ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยองค์กรที่ส่งเสริมความก้าวหน้าในงานและพฤติกรรมการทำงานของพนักงานวิศวกร การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

ธัญญรัศม์ เพ็ตตี้กรูว์. (2560). รูปแบบการจัดการความรู้สู่ทุนทางปัญญาในอุตสาหกรรมสื่อสารโทรคมนาคม. วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 28[1], 243-253. https://doi.org/ 10.14416/j.kmutnb.2018.01.004

มนชนก ชูพรรคเจริญ. (2562). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความสุขในการทำงานของพนักงานเอกชนในพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ. [สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น.

เนาวรัตน์ เพชรพรหม. (2562). วัฒนธรรมองค์กรและคุณภาพชีวิตในการทำงานที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-10-04