การพัฒนาการปฏิบัติงานตรวจสอบและการเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการของบุคลากร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

Authors

  • สุกัญญา กลัดเชยดี -

Keywords:

การตรวจสอบค่าใช้จ่าย, การเบิกจ่ายตามระเบียบราชการ , การพัฒนาการปฏิบัติงาน

Abstract

The objective of this research is 1) to study the knowledge and understanding of reimbursement of travel expenses for government service of Faculty of Management Science personnel; and to analyze obstacles and solutions, including checking and reimbursing travel expenses for government officials of the Faculty of Management Science. Nakhon Sawan Rajabhat University The sample used in this study was 30 subjects by selecting a simple random sample and selecting the main informant, who has the right and those involved in reimbursing government travel expenses according to legal principles. Related Regulations Data collection tools include questionnaires and unstructured in-depth interviews, analyzing content analysis methods and using objective statistics such as percentages, averages, and standard deviations.

The results of the research showed that:  1)The subjects had knowledge, understanding, and problems in reimbursement of government travel expenses as a whole, 72.29%, which is considered to be no problem as a result of individual questions that are not reimbursement problems. In addition to the question that is the problem, 1) where to stay for breakfast. Meal allowance cannot be reimbursed. According to the regulations, hotels or accommodation facilities can be reimbursed as usual, which is considered as an add-on service for that accommodation, 2) Accommodation fee means the cost of renting a room in a hotel or accommodation or the traveler's house. This means that the cost of renting a room in a hotel or accommodation but not including the traveler's residence, and 3) All accommodation reimbursements must provide proof of payment. According to the regulations, the reimbursement of accommodation is actually paid. Proof of payment is required for all transactions. In case of lump sum reimbursement, no evidence is required and 2) Inspection and reimbursement of government travel expenses found that problems and obstacles in reimbursement of government travel expenses were moderate overall. It has an average of 3.188, which is due to the problem that the application form for approval to travel to the government is very detailed, causing it to be filled out, such as lack of letter amount, incomplete and incorrect signing. It has an average of 3.700, followed by the problem of not being able to document disbursements. To clear the debt of government advances in a timely manner. It has an average of 3.633. The disbursement rate cannot be calculated, i.e. the calculation of allowances and time. Entitlement expenses make it impossible to properly plan travel expenses and require approval to change expenses later. It has an average of 3.507 and does not know the operating procedures/does not have a manual to study references. They have an average of 3.200, respectively

 

References

กระทรวงการคลัง. (2550). ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ. 2550. กรม.

กระทรวงการคลัง. (2550). ระเบียบการเบิกเงินจากคลังว่าด้วยค่ำใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงานและการประชุมระหว่างประเทศและแก้ไขเพิ่มเติม. กรม.

กลุ่มงานเจ้าหน้าที่ สำนักงานอธิการบดี. (2566). บุคลากรคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์. มหาวิทยาลัย.

จักรภพ ใหม่เสน. (2563). หลักและวิธีการพัฒนางาน. สืบค้นจาก: Ims.rmutsb.ac.th.

นันทมาศ เหลืองน้ำเพ็ชร และสุกัญญา นิ่มเนียม. (2555). ความรู้ความเข้าใจในระเบียบค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการและปัญหาการจัดทำเอกสารเบิกจ่ายค่า

ใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการของบุคลากร คณะศิลปะศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ตำแหน่งชำนาญ

การพิเศษลงมาหรือเทียบเท่า. ตามรอยพระยุคลบาท, รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการแห่งชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาลัย

กำแพงแสน ครั้งที่ 9 (น. 1040-1051).

ณปภัช เรียงแหลม. (2558.) การวิเคราะห์ผลตอบแทนทางการเงิน ห่วงโซ่อุปทาน และศักยภาพใน การแข่งขันของเกษตรกรผู้ทำสวนองุ่นพันธุ์ไวท์มะละกา ใน

อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี. คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ประพนธ์ ผาสุขยืด. (2550). การจัดการความรู้ : ฉบับขับเคลื่อน. กรุงเทพฯ : ใยไหม.

พรทิพย์ ชมเดช และคณะ. (2563). การพัฒนารูปแบบการปฏิบัติงานเบิกจ่ายงบประมาณ กองบริหารการคลัง กรมควบคุมโรค. โครงการวิจัยจากงานประจำ, กรม

ควบคุมโรค.

พัชรินทร์ จันทร์แจ้ง. (2560). การพัฒนาคู่มือการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดโครงการบริการวิชาการของ

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม. วารสาร Mahidol R2R e-Journal, 4(1), 114-123.

เฟื่องฟ้า เทียนประภาสิทธิ์. (2558). การตรวจสอบเอกสารหลักฐานการจ่ายกับการควบคุมคุณภาพทาง

การเงิน. กรุงเทพฯ: ศูนย์ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรเพื่อสังคม.

วัลลภ ประเสริฐ, ไกรสร พันพงค์แข็ง, เอื้องแก้ว คำถาวร และขนิษฐา คําน้อย. (2561). การพัฒนาระบบและกลไกการเบิกจ่ายเงินงบประมาณของคณะใน

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. วารสารบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์, 12(3), 16-26.

ศุภณิช จันทร์สอง. (2561). การพัฒนาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนถ่ายจากแอนาล็อคทีวีสู่ดิจิทัลทีวีสำหรับคนรุ่นใหม่. รายงานวิจัยคณะวิทยาการจัดการ

มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่. สืบค้นจาก: http://www.cmruir.cmru.ac.th/bitstream/123456789/1250/1/1.Cover.pdf

สายใจ ชุนประเสริฐ. (2562). แนวทางการพัฒนาการเบิก-จ่ายของคณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ

ธนบุรี, 1(1), 56—5.

สายหยุด ใจสำราญ และสุภาพร พิศาลบุตร. (2547). การพัฒนาองค์การ. (พิมพ์ครั้งที่ 5) กรุงเทพฯ : ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.

สิทธิพันธ์ อินทร์เพ็ญ. (2563). การพัฒนาคุณภาพงานและการปรับปรุงกระบวนงาน. สืบคืนจาก: http://qcc.egat.co.th/docs/qcc57/articles/qcc57-article-

pdf

แสงจันทร์ โสภากาล. (2550). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรู้ความเข้าใจของบุคลากรเกี่ยวกับองค์การ

บริหารส่วนตำบล. (รายงานการวิจัย) คณะสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏ

เลย

ศิรินทร์ ทิมจันทร์. (2564). การวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการของ คณะวิทยาการจัดการ

ประจำปีงบประมาณ 2559. วารสารวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 3(1), 32-49.

สำนักเลขาธิการรัฐมนตรี. (2526). พระราชกฤษฎีการค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ. 2526 และที่แก้ไขเพิ่มเติม สืบค้นจาก :

http://www.ratchakitcha.soc.go.th/

อรุณี มนประณีต. (2560). แนวทางการตรวจสอบการเบกจ่ายค่าใช้จ่ายสําหรับการเดินทางไปราชการของบุคลากรในสังกัดกรมอนามัยของบุคลากรในสังกัดกรม

อนามัย กระทรวงสาธารณสุข. เอกสารประกอบการประเมิน, กลุ่มตรวจสอบภายใน, กรมอนามัย.

อลงกรณ์ จันทรโสภณ. (2546). การพัฒนาการปฏิบัติงานในแผนกวิชาช่างซ่อมบำรุง วิทยาลัยเทคนิคมหาสารคาม. (การค้นคว้าอิสระการศึกษามหาบัณฑิต)

บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

Good, Carter V. (1973). Dictionary of Education. New York: Mc Graw Hill Book.

Published

2024-04-30