นโยบายการใช้นวัตกรรมปัญญาประดิษฐ์เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ

ผู้แต่ง

  • ภคอร จตุพรธนภัทร มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

คำสำคัญ:

นโยบาย, นวัตกรรม, ปัญญาประดิษฐ์

บทคัดย่อ

      ในปัจจุบันเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) มีการพัฒนาอย่างรวดเร็วและสามารถประยุกต์ใช้ในหลากหลายภาคส่วน หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนเริ่มตระหนักถึงศักยภาพของ AI ในการพัฒนาการบริการให้มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล โปร่งใส ตรวจสอบได้ และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน AI สามารถช่วยงานบริหารงาน วิเคราะห์ข้อมูล คาดการณ์ ช่วยให้การบริการรวดเร็ว แม่นยำ ตรงจุด ประชาชนได้รับบริการที่รวดเร็ว นอกจากนั้นยังช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ การนำ AI มาใช้ช่วยให้ธุรกิจมีประสิทธิภาพ ลดต้นทุน เพิ่มรายได้ประเทศ มีสินค้าและบริการที่มีคุณภาพ สามารถแข่งขันในตลาดโลก ส่งเสริมการสร้างงานและเศรษฐกิจดิจิทัล เกิดงานใหม่ กระตุ้นเศรษฐกิจเศรษฐกิจดิจิทัลให้มีความเติบโต พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ช่วยพัฒนาระบบสาธารณสุข การศึกษา ความปลอดภัย และช่วยทำให้คุณภาพชีวิตของประชาชนได้รับความสะดวกสะบายยิ่งขึ้น

References

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม และกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. (2565). แผนปฏิบัติการด้านปัญญาประดิษฐ์แห่งชาติเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (พ.ศ. 2565–2570). กรุงเทพฯ: กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม และกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม.

เกียรติพงษ์ อุดมธนะธีระ. (2564). ประวัติความเป็นมาปัญญาประดิษฐ์ (origins Artificial Intelligence). สืบค้นจาก https://www.iok2u.com/article/information-technology/ai-001-artificial-intelligence-origins

สำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า กระทรวงพาณิชย์. (2567). ก้าวทันนโยบายรอบโลก: AI กับการค้า. กรุงเทพฯ: กระทรวงพาณิชย์.

สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์. (2564). ปัญญาประดิษฐ์ในการให้บริการของภาครัฐ (AI in Government Services). สืบค้นจาก https://www.etda.or.th/th/Useful-Resource/Knowledge-Sharing/Articles/AI-in-Government-Services.aspx.

Kurzweil, R. (2005). The singularity is near: When humans transcend biology. New York: Viking Penguin.

Minsky, M. (1968). Semantic information processing. Cambridge, MA: MIT Press.

Negroponte, N. (1995). Being digital. New York: Knopf.SOS. (2023). ปัญญาประดิษฐ์คืออะไร และสำคัญอย่างไร. สืบค้นจาก https://www.sas.com/th_th/insights/analytics/what-is-artificial-intelligence

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-06-02

How to Cite

จตุพรธนภัทร ภ. . (2024). นโยบายการใช้นวัตกรรมปัญญาประดิษฐ์เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ. วารสารการบริหาร การจัดการ และการพัฒนาที่ยั่งยืน ISSN: 2985-2366 (Online), 2(2), 330–340. สืบค้น จาก https://so15.tci-thaijo.org/index.php/jamsd/article/view/704