การบริหารจัดการแบบประสานความร่วมมือ

ผู้แต่ง

  • กุลธิดา ศรัทธาครั้ง มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
  • ศรุตานนท์ บุญเรือง
  • ศิริวรรณ คนหมั่น
  • อัครพงษ์ บุญศิริชัยธนาโชติ

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้เป็นการรวบรวมข้อมูลจากเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและสื่อออนไลน์ต่าง ๆ เพื่อเป็นแนวทางสำหรับการบริหารจัดการแบบประสานความร่วมมือเป็นแนวคิดการจัดการที่มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมในการร่วมกันแก้ไขปัญหาหรือพัฒนางานสาธารณะโดยเน้นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การแบ่งปันทรัพยากรและการตัดสินใจร่วมกันบนพื้นฐานของฉันทามติการบริหารจัดการบนฐานความร่วมมือมีองค์ประกอบสำคัญ 6 ประการ ได้แก่ 1) การริเริ่มความร่วมมือ 2) ตัวแสดงที่เกี่ยวข้องประกอบด้วยภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม 3) การแสดงบทบาท 4) การจัดโครงสร้างการทำงาน 5) การตัดสินใจ และ 6) เป้าหมายของการร่วมกันทำงาน

References

กรองแก้ว ศรีประภา,สุวรรณมาลา สุวรรณโชติ. (2553). การศึกษาและรวบรวมตัวอย่างการบริหารจัดการบ้านเมืองแบบร่วมมือกัน (Collaborative Governance) ระหว่างภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคธุรกิจเอกชน ภาคประชาสังคมและชุมชน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

คมสัน สันติธรรม. (2561). การจัดการปกครองแบบประสานความร่วมมือ:กรณีศึกษาโครงการพัฒนาชุมชน เมืองอย่างยั่งยืน (URBAN GO). วารสารการบริหารปกครอง, 2(1), 1-15.

วสันต์ เหลืองประภัสร์. (2563). การอภิบาลบนฐานของความร่วมมือ:สภาวะสังคมไร้ศูนย์กลาง การแตกกระจายในระบบบริหารราชการแผ่นดิน และแสวงหาตัวแบบใหม่ในการขับเคลื่อนภารกิจของรัฐ. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.

วสันต์ เหลืองประภัสร์, มณีรัตน์ ศิรินุรักษ์ และณัฐพร วรวัฒน์. (2559). การวิเคราะห์นโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วม: กรณีศึกษาการจัดการน้ำเสียในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน. วารสารนโยบายสาธารณะ, 11(3), 143-166.

วัชระ สุขเกษม. (2562). การจัดการปกครองแบบประสานความร่วมมือ: กรณีศึกษาโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด. วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์, 7(2), 1-15.

ศศิธร ทองจันทร์. (2559). การบริหารจัดการปกครองแบบประสานความร่วมมือ: แนวคิดหลักการและกรณีศึกษา. วารสารรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์, 32(1), 1-25.

ศักดิ์สิทธิ์ ฆารเลิศ และ อลงกต สารกาล. (2560). ว่าด้วยแนวคิดการบริหารจัดการปกครองท้องถิ่นบนฐานเครือข่ายความร่วมมือ (Collaborative Local Governance). วารสารสังคมศาสตร์ นิติรัฐศาสตร์, 1(2), 87-106.

ศิริกุล, สุ. (2555). การบริหารบนฐานความร่วมมือ: แนวคิดและทฤษฎี.ในการบริหารกิจการสาธารณะ: ทฤษฎีและกรณีศึกษา พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศิริกุล, สุ. (2556). การบริหารบนฐานความร่วมมือ: ปัจจัยสู่ความสำเร็จ. วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 32(2), 85-98.

ศิริกุล, สุ. (2557). การบริหารบนฐานความร่วมมือกับการพัฒนาท้องถิ่น:กรณีศึกษาการพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชน.วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 33(1). 35-48

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-15

How to Cite

ศรัทธาครั้ง ก., บุญเรือง ศ., คนหมั่น ศ., & บุญศิริชัยธนาโชติ อ. (2024). การบริหารจัดการแบบประสานความร่วมมือ. วารสารการบริหาร การจัดการ และการพัฒนาที่ยั่งยืน ISSN: 2985-2366 (Online), 2(4), 831–840. สืบค้น จาก https://so15.tci-thaijo.org/index.php/jamsd/article/view/556