รูปแบบการเสริมสร้างความเข้มแข็งการบริหารจัดการแผนงานและโครงการด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (ววน.) มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี

ผู้แต่ง

  • วีรชัย คำธร สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี

คำสำคัญ:

การเสริมสร้างความเข้มแข็ง, การบริหารจัดการแผนงาน, โครงการวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม, ววน.

บทคัดย่อ

แผนงานนี้มุ่งเสริมสร้างความเข้มแข็งการบริหารจัดการแผนงานและโครงการด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม รูปแบบวิธีการศึกษาใช้วิธีวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) กลุ่มประชากรเป้าหมาย  ได้แก่ อาจารย์นักวิจัยจำนวน 260 คน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ อาจารย์นักวิจัยที่สมัครเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ จำนวน 80 คน เก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้แบบสอบถาม การสังเกตข้อมูลเชิงประจักษ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ สถิติพื้นฐาน สถิติวิเคราะห์ถดถอยพหุคุณ และวิเคราะห์ข้อมูลเขิงเนื้อหาข้อมูลเชิงประจักษ์จากภาพบรรยายกาศการประชุม. ผลการศึกษาที่สำคัญแนวทางเสริมสร้างที่สำคัญ ได้แก่ ประเด็นที่ 1 การบริหารจัดการงานวิจัยงานต้นน้ำ ได้แก่  (1) การชี้แจงกรอบแผนงานวิจัยเชิงบูรณา (2) แนวทางจากการวิพากษ์ (ร่าง) แผนงานวิจัยเชิงบูรณาการร่วมกัน (3) แนวทางพัฒนาจากการวิพากษ์ข้อเสนอโครงการเชิงหลักการย่อย  ประเด็นที่ 2 การบริหารจัดการงานกลางน้ำ ได้แก่ (1) การแลกเปลี่ยนประสบการณ์การเข้าถึงประชาชนเพื่อทำวิจัย (2) การใช้ห้องปฏิบัติการวิจัยทางวิทยาศาสตร์เพื่อวิจัยสร้างองค์ความรู้ใหม่เชิงบูรณาการ และ (3) การจัดกิจกรรมเสริมสร้างความเข้าใจเรื่องระเบียบวิธีสถิติขั้นสูง ทั้งนี้การบริหารจัดการงานวิจัย งานต้นน้ำ-งานกลางน้ำ ซึ่งส่งผลดีต่อ การจัดการงานปลายน้ำ ได้แก่ (1) การรับรู้เรื่องนวัตกรรมพร้อมใช้ (2) ความพร้อมในการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ ต่อยอดเชิงพาณิชย์ และ (3) การพร้อมในการยื่นขอคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา

References

กาญจนา แก้วเทพ (2567). การวิจัยเพื่อท้องถิ่นกับการพัฒนาตัวชี้วัดความเหลื่อมล้ำด้านการเมือง-สิ่งแวดล้อมและพื้นที่ บทสังเคราะห์ เล่ม 2. มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อท้องถิ่น.

กัมปนาท วิจิตรศรีกมล. (2564). การประเมินผลกระทบจากงานวิจัยและพัฒนาหลักการเบื้องต้นและแนวปฏิบัติ. สถาบันคลังสมองของชาติ.

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2558). การคิดเชิงบูรณาการ. กรุงเทพฯ: ซัคเซสมีเดีย.

จอมพงศ์ มงคลวนิช. (2556). การบริหารองค์การและบุคลากรทางการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปิยะวัติ บุญ-หลง, กาญจนา แก้วเทพ และบวร ปภัสราทร. (2559). งานวิชาการเพื่อสังคม: หลักการและวิธีการ. สถาบันคลังสมองของชาติ.

พันธุ์อาจ ชัยรัตน์. (2557). การจัดการนวัตกรรมสำหรับผู้บริหาร. กรุงเทพฯ: สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ.

ศิริชัย กาญจนวาสี. (2556). ทฤษฎีการทดสอบแบบดั้งเดิม (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สมพร อิศวิลานนท์, สุวรรณา ประณีตวตกุล และปิยะทัศน์ พาฬอนุรักษ์. (2553). การประเมินผลกระทบจากงานวิจัยด้านการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร. กรุงเทพฯ: สถาบันคลังสมองของชาติ.

สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์, พักตร์ผจง วัฒนสินธุ์, อัจฉรา จันทร์ฉาย, และประกอบ คุปรัตน์. (2553). นวัตกรรม: ความหมาย ประเภท และความสำคัญต่อการเป็นผู้ประกอบการ. วารสารบริหารธุรกิจ, 33(128), 49-65.

สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2555). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 15). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุวิทย์ เมษินทรีย์. (2560). ประเทศไทย 4.0: สร้างความเข้มแข็งจากภายใน เชื่อมโยงเศรษฐกิจไทยสู่โลก. สำนักงานกิจการยุติธรรม. http://const.oja.go.th/Utilities/Thailand40.

สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. (2556). จรรยาวิชาชีพวิจัยและแนวทางปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.

สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.). (2564). แผนปฏิบัติการด้านการใช้ประโยชน์งานวิจัยและนวัตกรรม (พ.ศ. 2563-2565). กองส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรม สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ.

สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม. (2564). คู่มือการบริหารจัดการงานวิจัย. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.).

Drucker, P. F. (1954). The Practice of Management. New York: Harper & Row.

Reed, M. S., Vella, S., Challies, E., de Vente, J., Frewer, L., Hohenwallner-Ries, D., Huber, T., Neumann, R. K., Oughton, E. A., Sidoli del Ceno, J., & van Delden, H. (2018). A theory of participation: What makes stakeholder and public engagement in environmental management work? Restoration Ecology, 26(S1), S7–S17. https://doi.org/10.1111/rec.12541.

OECD/Science Europe. (2020). Optimising the operation and use of national research infrastructures. OECD Science, Technology and Industry Policy Papers, No. 91. OECD Publishing.

European Commission. (2023). Horizon Europe Programme Guide. Brussels: European Commission.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2025-04-05

How to Cite

คำธร ว. (2025). รูปแบบการเสริมสร้างความเข้มแข็งการบริหารจัดการแผนงานและโครงการด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (ววน.) มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี. วารสารการบริหาร การจัดการ และการพัฒนาที่ยั่งยืน, 3(1), 272–284. สืบค้น จาก https://so15.tci-thaijo.org/index.php/jamsd/article/view/1548