ภาวะผู้นําเชิงกลยุทธของผู้บริหารสถานศึกษากลุ่มหนองหาน 2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 3

ผู้แต่ง

  • ฐาปนพงศ์ อินทรพาณิชย์ หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชธานี วิทยาเขตอุดรธานี
  • กิจพิณิฐ อุสาโห หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชธานี วิทยาเขตอุดรธานี
  • สุรางคณา มัณยานนท์ หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชธานี วิทยาเขตอุดรธานี

คำสำคัญ:

ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์, ผู้บริหารสถานศึกษา, แนวทางพัฒนา

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับและแนวทางพัฒนาภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษากลุ่มหนองหาน 2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 3 กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูผู้สอน จำนวน 102 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามมีค่าความเที่ยงตรง ระหว่าง 0.67-1.00 ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.93 และแบบสัมภาษณ์ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้โปรแกรม google form วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. ระดับภาวะผู้นำเชิงกลยุทธของผู้บริหารสถานศึกษา ภาพรวมอยู่ในระดับมาก มีการกระจายตัวน้อย ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ การตั้งวัตถุประสงค์ รองลงมา คือ กำหนดทิศทาง และกำหนดกลยุทธ์ตามวิสัยทัศน์และจุดประสงค์ ด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ การปฏิบัติและดำเนินกลยุทธ์ 2. แนวทางพัฒนาภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ คือ ผู้บริหารควรส่งเสริมการมีส่วนร่วมของบุคลากรผ่านการประชุมรับฟังความคิดเห็นอย่างสม่ำเสมอ เปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็นได้อย่างอิสระ ประเมินจุดแข็งและศักยภาพขององค์กรเพื่อสร้างวิสัยทัศน์ที่ยืดหยุ่น ใช้เทคโนโลยีและระบบข้อมูลในการวิเคราะห์และตัดสินใจ จัดการอบรมและส่งบุคลากรเข้าร่วมการประชุมภายนอก จัดทำแผนพัฒนารายบุคคล สร้างระบบพี่เลี้ยง เชื่อมโยงการพัฒนาทักษะกับความก้าวหน้าในวิชาชีพ จัดตั้งกล่องและคณะกรรมการรับฟังความคิดเห็น รวมถึงนำผลการประเมินมาสื่อสารให้ผู้เกี่ยวข้องทราบผ่านหลากหลายช่องทาง

References

ฏิมากร บุ้นกี้. (2563). การศึกษาบทบาทภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตราด. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.

บุญชม ศรีสะอาด. (2560). การวิจัยเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 3. (2565). แผนปฎิบัติการประจำปี พ.ศ. 2566. อุดรธานี: กลุ่มงานนโยบายและแผน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 3.

สมคิด นาคขวัญ. (2561). ทักษะการบริหารงานในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารสถานศึกษาตามการรับรู้ของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 2. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี.

สุนิสา ตั้งตระกูล. (2560). การศึกษาบทบาทภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในจังหวัดจันทบุรี ระยอง และตราด. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎรำไพพรรณี.

อดิพงษ์ ผะเดียงฉันท์ และนันทิยา น้อยจันทร์ (2565). ภาวะผู้นําเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2. Journal of Roi Kaensarn Academi, 7(5), 305–321.

อภิชญา จะเรียมพันธ์. (2562). ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร. การศึกษาอิสระศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

Barney, J. (1991). Firm resources and sustained competitive advantage. Journal of Management, 17(1), 99-120.

Blake, R. R., & Mouton, J. S. (1964). The managerial grid: The key to excellence in production and people. Texas: Gulf Publishing Company.

Burns, J. M. (1978). Leadership. New York: Harper & Row.

Carlyle, T. (1841). On Heroes, Hero-Worship, and the Heroic in History. London: James Fraser. Chapman and Hall.

Eisenhardt, K. M., & Martin, J. A. (2000). Dynamic Capabilities: What Are They?. Strategic Management Journal, 21(10/11), 1105-1121.

Fiedler, F. E. (1967). A theory of leadership effectiveness. New York: McGraw-Hill.

Grant, R. M. (2010). Contemporary Strategy Analysis and Cases: Text and Cases. New Jersey: John Wiley & Sons.

Hambrick, D. C., & Fredrickson, J. W. (2001). Are you sure you have a strategy?. The Academy of Management Executive, 15(4), 48-59.

Hamel, G., & Prahalad, C. K. (1994). Competing for the future. Harvard Business Press.

Hersey, P., & Blanchard, K. H. (1969). Life cycle theory of leadership. Training & Development Journal, 23(5), 26-34.

Krejcie, R. V., & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities. Educational and Psychological Measurement, 30 (3), 607 - 610.

Lewin, K., Lippitt, R., & White, R. K. (1939). Patterns of aggressive behavior in experimentally created “social climates”. The Journal of Social Psychology, 10(2), 271-299.

Northouse, P. G. (2018). Leadership: Theory and practice (8th ed.). Sage publications.

Porter, M. E. (1985). Competitive advantage: Creating and sustaining superior performance. New York: The Free Press.

Senge, P. M. (1990). The fifth discipline: The art & practice of the learning organization. New York: Doubleday/Currency.

Stogdill, R. M. (1974). Handbook of leadership: A survey of theory and research. New York: The Free Press.

Thompson, A. A., Strickland, A. J., & Gamble, J. E. (2007). Crafting and Executing Strategy: The Quest for Competitive Advantage: Concepts and Cases (15th ed.). New York: McGraw-Hill Irwin.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2025-03-31

How to Cite

อินทรพาณิชย์ ฐ., อุสาโห ก., & มัณยานนท์ ส. (2025). ภาวะผู้นําเชิงกลยุทธของผู้บริหารสถานศึกษากลุ่มหนองหาน 2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 3. วารสารการบริหาร การจัดการ และการพัฒนาที่ยั่งยืน, 3(1), 38–50. สืบค้น จาก https://so15.tci-thaijo.org/index.php/jamsd/article/view/1502