แนวความคิดการจัดการหนี้สินครัวเรือนเกษตรกรภายใต้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ผู้แต่ง

  • สุริยะ หาญพิชัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี

คำสำคัญ:

หนี้สินครัวเรือนเกษตรกร, การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ, การจัดการหนี้สิน

บทคัดย่อ

ประชากรของประเทศไทยส่วนใหญ่ประกอบอาชีพการเกษตร จึงได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกบทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนวรรณกรรมและเอกสารวิชาการเพื่อเป็นแนวทางการจัดการหนี้สินครัวเรือนเกษตรกรภายใต้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พบว่า การจัดการหนี้สินของครัวเรือนเกษตรกรไทยเกี่ยวข้องกับหลายปัจจัย ได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคลและครอบครัว ปัจจัยทางเศรษฐกิจ ปัจจัยทางสังคม ปัจจัยทางภูมิศาสตร์ ปัจจัยทางทัศนคติ นิสัยหรือพฤติกรรม ปัจจัยโครงการนโยบายรัฐ และปัจจัยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ที่ส่งผลต่อการผลิตทางการเกษตร ทำให้รายได้ไม่มั่นคง โดยเฉพาะอย่างยิ่งความผิดปกติของสภาพภูมิอากาศและภัยธรรมชาติที่มีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้เกิดความเสียหายต่อผลผลิตทางการเกษตรเป็นเหตุกระทบต่อรายได้จนนำไปสู่ปัญหาการชำระคืนหนี้ของเกษตรกรได้ จากการทบทวนวรรณกรรมและเอกสารวิชาการเพื่อแนวทางการจัดการหนี้สินครัวเรือนเกษตรกรภายใต้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พบว่า ทางเลือกในการปรับตัวของครัวเรือนเกษตรกรคือการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับระบบการเกษตร โดยการทำเกษตรแบบผสมผสานเพื่อการลดความเสี่ยง การสร้างรายได้เพิ่ม ลดรายจ่าย และจัดการสภาพคล่องทางการเงินที่เหมาะสมเพื่อให้เกิดความสามารถในการชำระหนี้ได้ตามสัญญาทำให้หนี้สินลดลงจนหลุดพ้นจากภาระหนี้สิน

References

กวิน มุสิกา. (2561). แนวทางการบริหารหนี้สินเกษตรกรไทย. ดุษฎีนิพนธ์ สาขาวิชาการจัดการสาธารณะ วิทยาลัยพานิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.

ขนิษฐา วนะสุข, จุฬารัตน์ โฆษะโก และภาวนิศร์ ชัววัลลี. (2557). หนี้ครัวเรือนกับเศรษฐกิจภาคใต้. กรุงเทพฯ: ธนาคารแห่งประเทศไทย.

ธัญญพัทธ์ วัฒนจิรพันธุ์ และจงจิต ลิอ่อนรัมย์. (2564). แนวทางการแก้ไขปัญหาหนี้สินเกษตรกรตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงของกลุ่มเกษตรกรตำบลไร่หลักทอง อำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 6(6). 298-312.

นิพนธ์ พัวพงศกร และคณะ. (2558). โครงการศึกษาภาวะหนี้สินเกษตรกรและแนวทางการปรับปรุงศักยภาพการดำเนินงานของกองทุนในกำกับของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์. กรุงเทพฯ: สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร.

นิโรจน์ สินณรงค์. (2560). เศรษฐศาสตร์กับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ: จากแนวคิด เครื่องมือการวิเคราะห์ สู่นโยบายสาธารณะด้านการเกษตร. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 37(3), 143-161.

ปัณภ์ปวีณ รณรงค์นุรักษ์. (2558). ปัจจัยที่ส่งผลต่อหนี้สินของเกษตรกรผู้ปลูกอ้อย ข้าว และมันสาปะหลัง: กรณีศึกษาเกษตรกรในเขตพื้นที่จังหวัดกาญจนบุรี และเพชรบุรี. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

พลอยปภัส ไชยยานนท์ และวิจิตต์ศรี สงวนวงศ์. (2564). การวิเคราะห์สภาวะหนี้สินและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อหนี้ของสมาชิกสหกรณ์การเกษตรในเขตภาคเหนือ. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง, 10(1), 63-75.

พลากร ดวงเกตุ. (2022). หนี้สินครัวเรือนเกษตรของประเทศไทย: ความท้าทายที่ต่อเนื่อง. Journal of Demography, 38(1). 60-71.

พิมพ์ชนก กระตุปัญญา, ภิรดา ชัยรัตน์ และศรีรัฐ โกวงศ์. (2564). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการก่อภาระหนี้สินของเกษตรกรอําเภอสุวรรณภูมิจังหวัดร้อยเอ็ด. Journal of Modern Learning Development, 6(3), 250-265.

พิสัณฑ์ โบว์สุวรรณ, ภคมน โภคะธีรกุล, วรสิทธิ์ เจริญพุฒ และเชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์. (2565). ปัญหาหนี้สินของเกษตรกรไทย. วารสารนวัตกรรมการศึกษาและการวิจัย, 6(1), 265-277.

ว่าน ฉันทวิลาสวงศ์. (2566). เกษตรกรวิถีใหม่: นวัตกรรมท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ. กรุงเทพฯ: สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ.

วิทยา เจียรพันธุ์. (2553). หนี้สินเกษตรกรไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

สดายุทธ ศรีนวล และถวิล นิลใบ. (2564). ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อหนี้สินของเกษตรกร: กรณีศึกษาชาวนาจังหวัดร้อยเอ็ด. วารสารรามคำแหง ฉบับบัณฑิตวิทยาลัย, 4(3), 63-74.

สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์. (2567). การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศกับเศรษฐกิจ (Climate Change and the Economy). สืบค้น 10 พฤษภาคม 2567 จาก https://www.pier.or.th/pierspectives/002/

สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์. (2567). การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศที่รุนแรงกับการผิดนัดชำระหนี้เกษตร. ค้น 8 พฤษภาคม 2567 จาก https://www.pier.or.th/blog/2024/0501/

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2562). หนี้สินของครัวเรือนเกษตร พ.ศ. 2560. กรุงเทพฯ: สำนักงานสถิติแห่งชาติ.

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2565). หนี้สินครัวเรือนเกษตร พ.ศ. 2564. กรุงเทพฯ: สำนักงานสถิติแห่งชาติ.

สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร. (2557). การศึกษาหนี้สินของครัวเรือนเกษตรและขนาดของเงินกู้ที่เหมาะสม. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรกระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

สุริยะ หาญพิชัย. (2563). ปัจจัยที่ส่งผลต่อหนี้สินครัวเรือนเกษตรกรในจังหวัดลพบุรี. วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

สุริยะ หาญพิชัย. (2563). หนี้สินครัวเรือนเกษตรกรไทย : สถานภาพความรู้ปัจจุบันและข้อสังเกตบางประการ. Journal of Modern Learning Development, 5(2), 191-213.

อารีรัตน์ ลุนลลาด. (2563). ภาระหนี้สินของครัวเรือนเกษตรทำนาเปรียบเทียบกับหนี้สินของครัวเรือนที่ประกอบอาชีพอื่น. วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต (เศรษฐศาสตร์การเงิน) คณะพัฒนาการเศรษฐกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

Burney, J., McIntosh, C., Lopez-Videla, B., Samphantharak, K., & Gori Maia, A. (2024). Empirical modeling of agricultural climate risk. Proceedings of the National Academy of Sciences, 121(16).

Chantarat, S., Chawanote, C., Ratanavararak, L., Rittinon, C., Sa-ngimnet, B., & Adultananusak, N. (2023). Financial Lives and the Vicious Cycle of Debt among Thai Agricultural Households (Discussion Paper No. 204). Puey Ungphakorn Institute for Economic Research.

FAO. (2021). Climate-smart agriculture Projects from around the world case studies 2021. Retrieved from https://www.fao.org/family-farming/detail/en/c/1470761/

GRAIN. (2021). Agroecology vs. climate chaos: Farmers leading the battle in Asia. Accessed from https: //grain.org /en/article/6632-agroecology-vs-climate-chaos-farmers-leading-the-battle-in-asia

IPCC. (2023). AR6 Synthesis Report Climate Change 2023. Retrieved from https://www.ipcc.ch/report/ar6/syr/

Jirophat, C., Manopimoke, P., & Suwanik, S. (2022). The Macroeconomic Effects of Climate Shocks in Thailand (Discussion Paper No. 188). Puey Ungphakorn Institute for Economic Research.

Pipitpukdee, S., Attavanich, W., & Bejranonda, S. (2020). Climate change impacts on sugarcane production in Thailand. Atmosphere, 11(4), 408.

Prommawin, B., Svavasu, N., Tanpraphan, S., Saengavut, V., Jithitikulchai, T., Attavanich, W., & McCarl, B. A. (2022). Impacts of Climate Change and Agricultural Diversification on Agricultural Production Value of Thai Farm Households (Discussion Paper No. 184). Puey Ungphakorn Institute for Economic Research.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-09-23

How to Cite

หาญพิชัย ส. (2024). แนวความคิดการจัดการหนี้สินครัวเรือนเกษตรกรภายใต้การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ. วารสารการบริหาร การจัดการ และการพัฒนาที่ยั่งยืน ISSN: 2985-2366 (Online), 2(3), 631–645. สืบค้น จาก https://so15.tci-thaijo.org/index.php/jamsd/article/view/1127