การจัดการศึกษาเชิงพื้นที่เพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา กรณีศึกษา : จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ผู้แต่ง

  • รังสิญา ช่อผูก บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
  • ประกอบ ใจมั่น บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช

คำสำคัญ:

การจัดการศึกษาเชิงพื้นที่, ลดความเหลื่อมล้ำ

บทคัดย่อ

บทความนี้เป็นการนำเสนอการจัดการศึกษาเชิงพื้นที่เพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา กรณีศึกษา:จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีโครงการจังหวัดปฏิรูปการเรียนรู้จังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นกลไกขับเคลื่อนเพื่อช่วยเหลือและแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาของจังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยดำเนินการใน 5 กิจกรรม ได้แก่ 1) การพัฒนาข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาและการมีงานทำ 2) การพัฒนาเด็กด้อยโอกาสโดยเฉพาะเด็กบกพร่องด้านการเรียนรู้ (LD) 3) การสร้างหลักสูตรพุทธทาสศึกษา 4) การสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อพัฒนาผู้เรียน (Professional Learning Community : PLC) และ 5) การจัดการศึกษาเพื่ออาชีพ ซึ่งโครงการดังกล่าวสามารถแก้ปัญหาได้ ส่งผลดีต่อกลุ่มเป้าหมาย ซึ่งเป็นกลุ่มเด็กและเยาวชนที่จะเติบโตเป็นเสาหลักในการบริหารจัดการสังคมให้เป็นสังคมที่น่าอยู่และการศึกษาถือเป็นสิ่งสำคัญพื้นฐานที่จะสามารถพัฒนาตนเองและประเทศให้เจริญก้าวหน้าได้

References

Patrawart, K. (2022). Local Decentralization: Area-based Education Instrumentation to Enhance

the Equitable Education. Retrieved 2023, February 9, from

https://www.eef.or.th/article-decentralized-tolocal/. (in Thai)

The Equitable Education Fund. (2022). Area Based Education Management to Reduce Educational Inequality. Bangkok: S. R. Printing Mass Product. (in Thai)

Keeratikorn, K. (2023). What is Area-based Education?. Retrieved 2023, February 9, from

https://www.eef.or.th/article-area-based-education-140323/, 2566. (in Thai)

Masatienwong, C. (2017). The Area-based Education – ABE Research and Development Project

(Research report). Bangkok: Thailand Science Research and Innovation. (in Thai)

Tanchai. W. (2022). Fostering the Localization to Enhance the Equitable Education. Retrieved

, February 9, from https://www.eef.or.th/article-solve-the-problem-of-inequality-in-education-120222/. (in Thai)

Viphoouparakhot, V. (2021). Area Based Education Management of Participatory Management of Basic Education School Administrators. Panyapiwat Journal, 13(3), 320-332. (in Thai)

Ratanasupa, S. (2020). Vice Governor of Surat Thani Province Opening the Kick off: The Area-

based Education. Retrieved 2023, February 9, from

https://thainews.prd.go.th/th/news/detail/TCATG20120316173695, 2563. (in Thai)

The Office of Quality Learning Foundation and Youth Quality Development. (2014). Educational

Investment: A Case Study to Lesson Learn. Retrieved 2023, February 9, from

https://dn.core-website.com/public/dispatch_upload/backend/

core_dispatch_238965_1.pdf, 2557. (in Thai)

Nakornthap, A. (2012). Area-based Education Management. Retrieved 2023, February 9, from

(in Thai)

The Secretariat of the Council of Education. (2020). Participation in Educational Management

of Civil Society Stakeholders under the National Education Bill B.E.. Bangkok: Prik Wan

Graphic. (in Thai)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-06-29