กลยุทธ์การพัฒนาสมรรถนะของพนักงานองค์กร สู่ผู้นำการเปลี่ยนแปลง

Main Article Content

จิระเสกข์ ตรีเมธสุนทร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์คือเพื่อศึกษาและเปรียบเทียบระดับสมรรถนะของพนักงานองค์กรสู่ผู้นำแห่งการเปลี่ยนแปลงในธุรกิจยุคใหม่ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ พนักงานองค์กรเอกชนในเขตกรุงเทพและปริมณฑล จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และนำเสนอผลสรุปในเชิงพรรณา ผลการวิจัยพบว่าระดับความคิดเห็นของพนักงานองค์กรสู่ผู้นำแห่งการเปลี่ยนแปลงในธุรกิจยุคใหม่ ในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับปานกลาง โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ความฉลาดทางอารมณ์ รองลงมาคือ การเป็นแบบอย่างที่ดี การเป็นผู้นำที่ตระหนักรู้ตนเอง การสื่อสารข้ามสายงาน การจัดการทีมงานให้มีประสิทธิภาพ การนำการเปลี่ยนแปลงเพื่อการเติบโต การมอบหมายงานและการติดตามงาน กรอบความคิดการบริการลูกค้า การคิดนอกกรอบอย่างสร้างสรรค์ การบริหารงานในรูปแบบโครงการ การบริหารบุคลากรที่มีประสิทธิภาพ ตามลำดับ ซึ่งองค์การควรจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ ควรคู่ไปพร้อมกับ กิจกรรมการบริหารบุคลากรให้เกิดการพัฒนาตามคุณลักษณะผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่จะส่งคุณค่าต่อองค์การต่อไปในอนาคตอย่างยั่งยืน

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Deoneacadem. (2566). 5 Skill for success Executive .Retrieved : January, 3, 2022 from https://deoneacademy.com/what-skills-should-a-successful-manager-have/

House, R.J., Hnges, P.J., Quintanilla, S.A., Dofrman, P.W., Javidan,M., Dickson, M. & Associates (1992). Cultural Influences on Leadership and Organizations: Project GLOBE, in Mobiey.

Katz,D. & Kahn, R.L. (1987). The Social Psychology of Organizations (2nd ed). New York : John Wiley.

Krejcie, R.V. and. D.W.Morgan. (1970). Determining Sample Size for Research Activities. Education and Psychological Measurement.

Nilrat Navagitpaitoon. (2565). Components of Performance. Retrieved January,3 2022. From https://www.gotoknow.org/posts/500930.

Rauch, C.F. and Behling, O. (1984) Functionalism: Basis for an Alternate Approach to the Study of Leadership. Leaders and Managers: International Perspectives on Managerial Behavior and Leadership, 45-62. http://dx.doi.org/10.1016/B978-0-08-030943-9.50012-7

Richards, D. & Engle, S. (1986). After the Vision : Suggestions to Corporate Visionaries and Vision Champiobns, in adams, J.D. (ed) Transrorming Leadership, All exandria, VA : Miles River Press, pp.199-214.

Sanook Singmatr, Pikul Meemana and Dusadewat Kaewin (2560). Leadership traits of the Executive in the 21st Century. The 2th RMU National Graduate Research Conference. Rajabhat Maha Sarakham University. pp. 487-493.

Schein, E.H. (1992). Organizational Culture and Leadership, 2ne ed. San Francisco : Jossey-Bass.

Surajet Chaiphanphong. (2564). Leadership and Ethics for Administrators. Bangkok : Tripple Education.

Suthip Boonhock, Somnoek Wisuttipaet, Taweesak Roopsing and Preeda Attavinijtrakarn. (2021). The Potential Development Model of Middle Management among Telecommunication Entrepreneur in the Digital Age. Journal of MCU Humanities Review. Vol 7(2) pp. 193-212

Tatsana Akthitipong. (2556). A model of manageral competency for medium construction projects. Journal of The Research Promotion Association. Vol6(3)p 217-223.

Thailand Productivity Institute. (2565). HR for non HR in Digital Program. Retrieved : January, 3, 2022 from https://www.ftpi.or.th/event/48118

W.H; Gessner,M.J.& Arnold,V.(eds.) Advances in Global Leadership, Stamford.CT: JAI Press. Pp.131-233.

Yukl, Gery. (2013). Leadership in Organization, 8th ed., Essex : Pearson Education Limited.

Yut Panitanwong, Teravuti Boonyasopon, Somnoek Wisuttipaet and Taweesak Roopsing. (2563). The development model of the management's potential in construction service industry for Thailand 4.0. The Journal of KMUTNB. Vol.30(2). pp.351-360.