การเพิ่มประสิทธิภาพการวางแผนจัดซื้อวัตถุดิบหน่วยงาน Procurement แผนก Logistics กรณีศึกษา : บริษัทผู้ผลิตชิ้นส่วนประกอบรถยนต์แห่งหนึ่งในนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ ชลบุรี จ.ชลบุรี

ผู้แต่ง

  • มานะ ขาวเงิน สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชนดิจิทัล คณะคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก
  • รชต พานิช สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชนดิจิทัล คณะคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก
  • วงศกร เสริมศรี สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชนดิจิทัล คณะคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก

คำสำคัญ:

การเพิ่มประสิทธิภาพ, การวางแผนการจัดซื้อวัตถุดิบ, จำนวนสินค้าคงคลัง

บทคัดย่อ

งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษากระบวนการวางแผนการจัดซื้อวัตถุดิบ 2) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการวางแผนการจัดซื้อวัตถุดิบ จากการศึกษากระบวนการวางแผนการจัดซื้อวัตถุดิบปัญหาที่พบคือจำนวนของสินค้าคงคลังประเภทวัตถุดิบเพื่อใช้ผลิตชิ้นส่วนประกอบ (Component Part) ที่บันทึกในระบบ SAP. กับจำนวนที่ตรวจนับจริงไม่ตรงกัน ส่งผลให้การวางแผนจัดซื้อวัตถุดิบมีความคาดเคลื่อนทำให้เกิดปัญหาการจัดซื้อวัตถุดิบไม่เพียงพอต่อการผลิตทำให้ไลน์การผลิตต้องหยุดรอ คณะผู้วิจัยได้ทำการศึกษากระบวนการวางแผนการจัดซื้อและเก็บข้อมูลก่อนการปรับปรุงช่วงเวลา 2 เดือน พบว่าไลน์การผลิตมีการหยุดรอวัตถุดิบจำนวน 15 ครั้ง จากนั้นได้นำโปรแกรม Microsoft Excel มาประยุกต์ใช้สำหรับการช่วยตรวจสอบและติดตามการเคลื่อนไหวของจำนวนวัตถุดิบของชิ้นส่วนประกอบ เพื่อให้ทราบจำนวนสินค้าคงคลังตรงกับยอดตรวจนับหน้างานจริงหรือไม่ จำนวนการใช้แต่ละวัน จำนวนการรับ ตลอดจนทำให้รู้ล่วงหน้าว่าวันไหนที่อาจจะมีวัตถุดิบไม่เพียงพอต่อการผลิต ซึ่งจะช่วยให้มีเวลาได้แก้ไขปัญหาหากเกิดขึ้น ผลการวิจัยพบว่าหลังจากนำโปรแกรม Microsoft Excel มาประยุกต์ใช้ในการตรวจสอบและติดตามการเคลื่อนไหวจำนวนของวัตถุดิบจำนวนครั้งการหยุดไลน์ผลิตเพื่อรอวัตถุดิบลดลงจากเดิม 15 ครั้งเหลือ 3 ครั้ง ลดลงร้อยละ 80 สามารถ
ช่วยลดปัญหาการจัดซื้อวัตถุดิบที่ไม่เพียงพอต่อการผลิตและช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการวางแผนจัดซื้อวัตถุดิบ
ของชิ้นส่วนประกอบได้จริง

References

Weeraya, T. (2023, March 20). Looking at the direction of the Thai automotive parts industry in 2023-2024. Krungthai COMPASS. https://krungthai.com/Download/economyresources/Economy (in Thai).

Benjamass, P. (2019). Teaching Materials Production and Operations Management. (3rd ed.). Textbook Document Center, Office of Property and Benefits. Suratthani Rajabhat University. (in Thai).

Department of Primary Industries and Mines. (n.d.). Training Manual Fundamentals of Inventory and Store Management. SCM Executive Education Institute.

Napasorn, S. (2017). Inventory Mangement for Producing and Distributing Factory of Frozen Products. [Unpublished Master’s Thesis]. Thammasat University (in Thai).

Witoon, S. (2022, September 29). Labor ‘POKA YOKE fool proof’. https://www.bangkokbiznews.com/health/labour/1029471 (in Thai).

Sirorat, K. (2021). Error Reduction in Preparation of Raw Material for Production. [Unpublished Master’s thesis]. Suranaree University of Technology (in Thai).

Archanai, B. (2023, January 27). Flowchart. https://www.kruarchanai.com/2023/01/flowchart.html (in Thai).

Lalisa, P. (2010). Using the System Application Program (SAP) System for Procurement of Supplies and Property Management the University of the Thai Chamber of Commerce. [Unpublished master’s thesis]. The University of the Thai Chamber of Commerce. (in Thai).

Wittaya, J. & Chayaporn. . (2011) ‘Microsoft Excel: An Application that should not be Overlooked’. https://www.bu.ac.th/knowledgecenter/executive_journal/july_sep_11/pdf/aw17.pdf. (in Thai).

Monthatip, S., Ukrit, R. & Kittichai, A. (2017). Applying Microsoft Excel Program for Controlling and Managing Information to Manage Inventory, case study: Surod farm. https://kukr.lib.ku.ac.th/kukr_es/index.php?/BKN/search_detail/result/20005259. (in Thai).

Supavich, W. & Chanida, Y. (2021). Guidelines for Development on Inventory Management Systems of Motorcycle Parts Shop and Garage in Phitsanulok Province. https://bec.nu.ac.th/npsc/proceeding.Php. (in Thai).

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-04-30

How to Cite

ขาวเงิน ม., พานิช ร., & เสริมศรี ว. (2024). การเพิ่มประสิทธิภาพการวางแผนจัดซื้อวัตถุดิบหน่วยงาน Procurement แผนก Logistics กรณีศึกษา : บริษัทผู้ผลิตชิ้นส่วนประกอบรถยนต์แห่งหนึ่งในนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ ชลบุรี จ.ชลบุรี. วารสารพัฒนาธุรกิจและอุตสาหกรรม, 4(1), 63–76. สืบค้น จาก https://so15.tci-thaijo.org/index.php/Journalbid/article/view/803