แนวคิดแบบองค์รวมเชิงคุณค่าในมิติเวลากับโลจิสติกส์

ผู้แต่ง

  • Ridtichai Singthongchai -

บทคัดย่อ

กิจกรรมการส่งมอบคุณค่าในโซ่อุปทานตั้งแต่ต้นน้ำไปจนถึงปลายน้ำมักเกิดแรงกระเพื่อมเชื่อมโยงกันอย่างเป็นระบบ ทั้งนี้เนื่องจากในโซ่อุปทานนั้น ประกอบไปด้วย กิจกรรมของหน่วยย่อยของโซ่อุปทานอีกจำนวนมาก ซึ่งแรงของการกระเพื่อมสามารถเกิดผลกระทบต่อเนื่องเป็นไปในลักษณะของ “คลื่นอุปทาน แบบทรงกลม” ยิ่งไปกว่านั้นกิจกรรมทุกกิจกรรม  การส่งคุณค่านั้น เกิดขึ้นบนเส้นเวลาที่ผู้เขียนจะเรียกเส้นนี้ว่า  “เส้นโลจิสติกส์กาลเวลา”  และมีจำนวนนับไม่ถ้วนในทุกกิจกรรมของโลจิสติกส์ที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างทิศทางกิจกรรมและทิศทางของเวลา ที่เกิดขึ้นไปพร้อม ๆ กัน  โดยผลลัพธ์ของกิจกรรมดังกล่าวนั้น มีทิศทางต่างกัน และมีผลลัพธ์ที่ต่างกัน  ดังนั้น การคิดแบบองค์รวมด้วยปรัชญาที่เรียกว่า “โลจิสติกส์โซ่อุปทานอภิมาน” จะเน้นการพัฒนาจากส่วนที่เล็กที่สุดสู่การพัฒนาแบบยั่งยืนตามแนวพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่เป็นแนวทางใหม่ในสู่การบริหารและการปฏิบัติงานด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทานที่เกี่ยวข้องกับเวลาในอนาคตและสอดคล้องกับแนวทางในการพัฒนายุทธศาสตร์ด้านโลจิสติกส์ชาติได้

References

ปรเมสฐ์ บุญศรี. (2545). การพิสูจน์เวลาเป็นปริมาณเวกเตอร์ด้วยคณิตศาสตร์. วารสารราชบัณฑิต

(2), 399-407.

ปรเมสฐ์ บุญศรี. (2544). พีระมิดความลับที่ถูกเปิดเผย: ความลับของพีระมิดคือฟิสิกส์ขั้นสูงงานที่

ไอน์สไตน์ยังค้นคว้าไม่เสร็จ. กรุงเทพฯ : คอนเซ็พท์ไลน์.

มานิตย์ สิงห์ทองชัยและณัฐพนธ์ เกษสาคร. (2557). ต้นทุนบนฐานเวลา: ความคุ้มค่าในการจัดการธุรกิจ. คณะ

วิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.

Abbasi, M., & Nilsson, F. (2012). Themes and challenges in making supply chains.

Environmentally sustainable. Supply Chain Management, 17(5), 517-530. doi:http://dx.doi.org/10.1108/13598541211258582, 15 May 2015.

Carter, C. R., & Rogers, D. S. (2008). A framework of sustainable supply chain management:

Moving toward new theory. International Journal of Physical Distribution & Logistics

Management, 38(5), 360-387.

Christopher, M., & Peck, H. (2012). Logistics and Supply Chain Management: Creating Value-

Adding Networks. Pearson Education.

Christopher, M. (2016). Logistics & Supply Chain Management: Creating Value-Adding Networks.

Pearson Education.

Christopher, M., & Holweg, M. (2017). Supply Chain 4.0: Adopting digital technologies for impact.

International Journal of Logistics Management, 28(2), 55-74.

Ivanov, D., & Dolgui, A. (2021). "Digital Supply Chain and Industry 4.0: Trends and Research."

International Journal of Production Research. 59(16), 1-20.

Kim, J., Park, Y., & Ryu, D. (2021). Sustainable logistics: A holistic approach to energy

consumption and environmental impacts. Journal of Cleaner Production, 295, 126453.

Ivanov, D., Tsipoulanidis, A., & Schönberger, J. (2020). Global Supply Chain and Operations

Management: A Decision-Oriented Introduction to the Creation of Value. Springer.

Mentzer, J. T., Flint, D. J., & Kent, J. L. (2001). Developing a logistics service quality scale. Journal

of Business Logistics, 22(1), 9-29.

Mentzer, J. T., Flint, D. J., & Hult, G. T. M. (2020). Customer Loyalty and Logistics Service Quality:

A Key Link in the Supply Chain Management. Springer.

Sarkis, J., & Zhu, Q. (2018). Environmental sustainability and supply chain management:

Framework and research agenda. Transportation Research Part E: Logistics and Transportation Review, 115, 421-436.

Sarkis, J., Zhu, Q., & Lai, K. H. (2019). An organizational theoretic review of green supply chain

management literature. International Journal of Production Economics, 139(2), 20-34.

Simchi-Levi, D., Kaminsky, P., & Simchi-Levi, E. (2021). Designing and Managing the Supply

Chain: Concepts, Strategies and Case Studies. McGraw-Hill.

Sufficiency Economy Philosophy (SEP). (n.d.). The Philosophy of Sufficiency Economy: An

Approach to Sustainable Development. The Chaipattana Foundation.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-27