การพัฒนาการออกแบบผลิตภัณฑ์เบาะรถยนต์อเนกประสงค์ของบริษัท MCE จำกัด

ผู้แต่ง

  • ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์ ศูนย์ถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรมชุมชน ผู้ประกอบการ การท่องเที่ยว และการบริหารการศึกษา
  • เอกราช ยอดคำ สถาบันเทคโนโลยียานยนต์มหาชัย หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรม
  • ธิติพงศ์ ลิ้มเลิศฤทธิ์ ศูนย์ถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรมชุมชน ผู้ประกอบการ การท่องเที่ยว และการบริหารการศึกษา
  • ปรีญา ศรีจันทร์ ศูนย์ถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรมชุมชน ผู้ประกอบการ การท่องเที่ยว และการบริหารการศึกษา
  • พิชิต ภาสบุตร ศูนย์ถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรมชุมชน ผู้ประกอบการ การท่องเที่ยว และการบริหารการศึกษา

คำสำคัญ:

การพัฒนา, การออกแบบผลิตภัณฑ์, เบาะรถยนต์

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือศึกษาวิธีการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ของบริษัท Motor Companion ซึ่งเป็นบริษัทผลิตรถยนต์ โดยทำการเปรียบเทียบด้วยการออกแบบทางวิศวกรรม  หลักการแปลงหน้าที่ทางคุณภาพ (quality function deployment) และหลักการ axiomatic design (AD) อธิบายในส่วนของ เมทริกซ์หลัก 4 เฟส ที่ประกอบไปด้วย การวางแผนผลิตภัณฑ์ การแปลงการออกแบบ การวางแผนกระบวนการ และการวางแผนปฏิบัติการผลิต อุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์ รถยนต์เอนกประสงค์ ถูกเลือกมาเป็นกรณีศึกษาเพราะเป็นอุตสาหกรรมประเภทที่มีผลกระทบต่อรายได้ของประเทศอย่างมาก และเป็นอุตสาหกรรมเป้าหมายที่รัฐบาลให้การสนับสนุน จากการจัดทําแบบสอบถามเพื่อวิเคราะห์หาปัญหาที่เกิดขึ้นในอุตสาหกรรมประเภทนี้ พบว่าควรคำนึงถึงในการพัฒนาโครงสร้างรถยนต์อเนกประสงค์เพื่อเหมาะสมกับในส่วนโครงเหล็กและโครงสร้างห้องโดยสาร การออกแบบมีการใช้ความคิดเชิงสร้างสรรค์ 4 ลักษณะ 1.ความคิดริเริ่ม  2.ความคล่องในการคิด 3.ความยืดหยุ่นในการคิด 4.ความคิดละเอียดละออ จึงได้จัดทําชุดฝึกอบรมสําหรับพัฒนาพนักงานให้มีศักยภาพดังกล่าว ซึ่งเป็นวิธีหนึ่งที่อาจแก้ไขปัญหานี้ได้ ชุดฝึกอบรมที่ได้พัฒนาขึ้นเป็นเอกสารวิชาการที่ออกแบบโดยเฉพาะสําหรับโรงงานผลิตเบาะเอนกประสงค์ ยานยนต์ ประกอบด้วย 4 ชุดย่อย ได้แก่ 1) กลุ่มปรับปรุงคุณภาพ 2) พื้นฐานทางสถิติเพื่อการควบคุมคุณภาพ 3) การศึกษาดูงานการลดการเกิดของเสียในโรงงานตัวอย่าง และ 4) กลุ่มกิจกรรมปรับปรุงคุณภาพ จึงได้จัดการวิพากย์ชุดฝึกอบรมโดยผู้ทรงคุณวุฒิจํานวน 10 ท่าน ซึ่งมาจากสถาบันยานยนต์ 4 ท่าน ผู้ประกอบการผลิตเบาะรถยนต์ 2 ท่าน และอาจารย์ในมหาวิทยาลัย 4 ท่าน หลังจากได้จัดวิพากย์ชุดฝึกอบรมและได้ปรับปรุงตามที่ผู้ทรงคุณวุฒิได้แนะนําแล้ว จึงได้นําไปใช้ของโรงงานตัวอย่าง ซึ่งสุ่มมา 3 โรงงานจากประชากรที่มีคุณสมบัติเหมาะสม 12 โรงงาน เพื่อทดสอบผลสัมฤทธิ์ที่ได้จัดทําขึ้น โดยสุ่มได้ โรงงาน A, B และ C แต่ละโรงงานส่งตัวแทนมารับการฝึกอบรม โรงงานละ 3 คน รวมทั้งหมด 9 คน ในระหว่างการฝึกอบรมมีผู้ทรงคุณวุฒิ จํานวน 2 คน ได้ประเมินการฝึกอบรม ผลการประเมินของผู้ทรงคุณวุฒิดังกล่าวอยู่ในระดับดี เมื่อตัวแทนของพนักงานทั้ง โรงงานกลับไปทํางานก็ได้นําความรู้ที่ได้รับ

References

ชาติรส การะเวก, นัฏศรา เซ็มแม้นหมัด, ปรียานุช วิลาหวาน. (2021). การพัฒนากระเป๋าเสริมรถนั่งคนพิการ. วารสารวิจัยรำไพพรรณี, 15(2), 5-16.

นิศารัตน์ วีระแพทย์, & อัมพน ห่อนาค. (2017). แนวทางในการปรับปรุงธุรกิจเบาะรถยนต์ของร้านพัฒนา เบาะในเขตเทศบาลนครนครราชสีมา. MBA-KKU Journal, 10(1), 163-178.

เขตสุด บ้านเสื่อ. การวิเคราะห์และออกแบบกระบวนการผลิตสำหรับเบาะนั่งรถยนต์โดยเทคนิคลำดับการ ปฏิบัติงานของเมนาร์ด. Doctoral dissertation, สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

กนิษฐา เรืองวรรณศักดิ์. (2018). การศึกษาเอกลักษณ์จังหวัดอุดรธานีเพื่อออกแบบรถสามล้อระบบไฮบริด, The Study of Udon Thani Province’s Identity for Hybrid Tricycle Design. Journal of the Faculty of Architecture King Mongkut's Institute of Technology Ladkrabang,

(1), 265-275.

Thavornwat, C., Kanchana, R., Jarupinyo, S., & Wattanajitsiri, V. (2017). การลดของเสียใน กระบวนการผลิตลวดเหล็กขึ้นรูปสำหรับเบาะรถยนต์. Thai Industrial Engineering Network Journal, 3(1), 25-33.

ณัฐดนัย วัฒนสุภิญโญ. (2015). โครงการออกแบบผลิตภัณฑ์อำนวยความสะดวกสำหรับผู้โดยสารภายในห้อง พักผู้โดยสารภายในสนามบิน: กรณีศึกษาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ. ดุษฎีนิพนธ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ณัฐิยาภรณ์ ประเทืองผล. ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับมาตรฐานอุปกรณ์เพื่อความปลอดภัยของเบาะนั่งนิรภัย สำหรับเด็กและความรับผิดทางกฎหมาย.

บัณฑิต อินทรีย์มีศักดิ์, ภูมิจาตุ นิตานนท์, วรวุฒิ กังหัน. (2021). การบำรุงรักษาเครื่องจักรเชิงป้องกันกรณี ศึกษา: บริษัทผลิตเบาะรถยนต์. SAU JOURNAL OF SCIENCE & TECHNOLOGY, 7(1), 1-14.

อินทรีย์ มีศักดิ์, ภูมิจาตุ นิตานนท์ & วรวุฒิ กังหัน. (2021). การบำรุงรักษาเครื่องจักรเชิงป้องกันกรณีศึกษา: บริษัทผลิตเบาะรถยนต์. SAU JOURNAL OF SCIENCE & TECHNOLOGY, 7(1), 1-14.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-30