การออกแบบสติกเกอร์ไลน์อาจารย์สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ และการตลาดดิจิทัล วิทยาลัยธาตุพนม มหาวิทยาลัยนครพนม
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อสร้างสติกเกอร์ไลน์อาจารย์สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ และการตลาดดิจิทัล วิทยาลัยธาตุพนม มหาวิทยาลัยนครพนม 2) เพื่อนำสติกเกอร์ไลน์ไปใช้ในการติดต่อสื่อสารกับนักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ และการตลาดดิจิทัล วิทยาลัยธาตุพนม มหาวิทยาลัยนครพนม โดยมีวิธีการดำเนินการวิจัย ดังนี้ 1) ศึกษาและรวบรวมข้อมูล 2) การวางแผนการออกแบบ และสร้างสติกเกอร์ไลน์อาจารย์สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ และการตลาดดิจิทัล วิทยาลัยธาตุพนม มหาวิทยาลัยนครพนม 3) อัปโหลดสติกเกอร์ไลน์อาจารย์สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ และการตลาดดิจิทัล วิทยาลัยธาตุพนม มหาวิทยาลัยนครพนม
ผลการวิจัยพบว่า 1) ได้สติกเกอร์ไลน์อาจารย์สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ และการตลาดดิจิทัล วิทยาลัยธาตุพนม มหาวิทยาลัยนครพนม 2) อาจารย์ผู้ใช้งานใช้การสื่อสารผ่านสติกเกอร์ไลน์ตัวแทนที่เป็นภาพ และข้อความสั้น ๆ ทำให้สื่อสารด้วยความเข้าใจได้ง่าย
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความนี้ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ใน วารสารนวัตกรรมการจัดการและบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ถือเป็นความคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง กองบรรณาธิการวารสารไม่มีส่วนในความคิดเห็นและความรับผิดชอบใดที่เกี่ยวข้องกับบทความดังกล่าว
References
จุฑารัตน์ ศราวณะวงศ์ และคณะ. (2560). พฤติกรรมการใช้สื่อสังคมออนไลน์ของนิสิตระดับปริญญาตรี
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. วารสารบรรณศาสตร์ มศว, 10(2), 17.
ธรรมศักดิ์ เอื้อรักสกุล. (2547). ทฤษฎีหลักการวาดการ์ตูน. สำนักพิมพ์มีเดียอินเทลลิเจนซ์เทคโนโลยี.
พฤติกรรมการใช้และคุณภาพของ Internet ไทยเป็นอย่างไร. (2566). ค้นเมื่อ 19 มกราคม 2565, จาก
https://www.thailandplus.tv/archives/712538
เมธิศ ลิ่วลือชัย. (2561). การออกแบบสติกเกอร์ไลน์ให้กับองค์กรเพื่อใช้ในการสื่อสารกับลูกค้า. ภาควิชาแอนิเมชันและ
สื่อสร้างสรรค์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสยาม.
ศุภรัตน์ เจริญพิทักษ์, กฤษดา ทองบุญเกิด, และศิริพล แสนบุญส่ง. (2561). การพัฒนาสติกเกอร์บนแอปพลิเคชันไลน์
ชุดการ์ตูนนักศึกษาครุศาสตร์. วารสารวัตกรรมการเรียนรู้, 4(1), 35-47.
สิงขร ภักดี. (2559). หลักการวาดการ์ตูน. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.
สิริวิวัฒน์ ละตา. (2561). การออกแบบและพัฒนาสติกเกอร์ไลน์เพื่อประชาสัมพันธ์จังหวัดมหาสารคาม. (รายงานการ
วิจัย). มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
สุชา จันทร์เอม. (2547). ทฤษฎีสีกับการออกแบบงานกราฟิก. (พิมพ์ครั้งที่ 13). สำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช.
เสาวลักษณ์ พันธบุตร. (2562). การศึกษาแนวคิดและรูปแบบในการสร้างสติกเกอร์คาแร็กเตอร์เพื่อใช้ในสื่อสังคม
ออนไลน์. วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม, 7(1), 156-167.
สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยนครพนม. (2565). สรุปสถิตินักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
ประจำปีการศึกษา 2565. ค้นเมื่อ 26 มิถุนายน 2565, จาก https://reg.npu.ac.th/registrar/teach_
browse.asp?classacadyear=2565&avs390617839=9
อารีย์ มยังพงษ์ เกื้อกูล ตาเย็น และณรงค์ฤทธิ์ ธีระเวช. (2565). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการใช้แอปพลิเคชันไลน์
เพื่อการสื่อสารทางการเรีย. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี, 4(1), 57-71.
White, C. M. (2012). Social media, Crisis communication, and Emergency management:
Leveraging Web 2.0 Technologies. Boca Raton: CRC.
LINE Thailand. ประเทศไทย ครบรอบ 10 ปี ประกาศยอดผู้ใช้งานครบ 50 ล้านคน. (2564). ค้นเมื่อ 19 มกราคม