การประยุกต์เทคโนโลยี AI กับความสำเร็จในการทำงานของอาชีพนักบัญชียุคดิจิทัล Application of AI technology to the success of the digital accounting profession
คำสำคัญ:
เทคโนโลยี AI, ความสำเร็จในการทำงาน, นักบัญชียุคดิจิตัลบทคัดย่อ
ปัจจุบันความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี AI กำลังเติบโตอย่างต่อเนื่อง มีการพัฒนาขีดความสามารถเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว จนทำให้มีการวิเคราะห์อย่างแพร่หลายว่า AI จะสามารถเข้ามาทดแทนแรงงานคนในหลายอาชีพได้ แต่นักบัญชียุคดิจิทัลปรับทักษะในการทำงานของตัวเองไปพัฒนาอย่างอื่นแทน การปรับความคิดและสร้างบทบาทในฐานะผู้ให้คำปรึกษาทางการเงิน และช่วยวางแผนภาษีอากร ซึ่งจะก่อให้เกิดความสำเร็จในการทำงาน และช่วยลดต้นทุนทางธุรกิจ หรือวางแนวโน้มการใช้งบประมาณในอนาคตของธุรกิจ วิเคราะห์เพื่อชี้ให้เห็นถึงโอกาสใหม่ ๆ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการองค์กรให้กับผู้บริหารจนกระทั่งสามารถให้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับบัญชีและคำแนะนำที่เป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจทางธุรกิจ นักบัญชียุคดิจิทัลจึงสามารถอยู่รอดได้ต่อไปไม่ต้องถูกเทคโนโลยี AI เข้ามาลดบทบาทความสำคัญลงได้References
กัญญาพร จันทร์ประสิทธิ์ (ม.ป.ป.). ประสิทธิภาพนักบัญชียุคดิจิทัลของสถานประกอบการในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร, จาก https://mmm.ru.ac.th/MMM/IS/twin-9/6214155043.pdf
ณัฐรดา เหมือนเดช. (2566) ปัจจัยที่มีผลต่อการนำเทคโนโลยี AI มาประยุกต์ใช้ในงานด้านบัญชีของนักบัญชีในกรุงเทพมหานคร : กรณีศึกษา ChatGPT. (การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) 10-11 จาก https://ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2023/TU_2023_6633140063_17934_27943.pdf
ธนิศร์ วินิจสร (2562). ปรับมุมมองส่องโลกดิจิทัล. จดหมายข่าวสภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์, 83 (Nov), 8-9.
ประภาพร วีระสอน (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างการพัฒนาศักยภาพการปฏิบัติงานทางการบัญชีกับความสำเร็จในการปฏิบัติงานของผู้ทำบัญชีในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม), จาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/bruj/article/view/254945
ประสัณห์ เชื้อพานิช (2560). บทบาทนักบัญชีในยุค Digital Transformation. จดหมายข่าวสภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์, 72(2), 18.
ปิยพงศ์ ประไพศรี และกาญจนา นันทพันธ์ (2563). แนวทางการพัฒนาวิชาชีพของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในยุคดิจิทัล. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์. 7(12): 426.
พิชัย ชุณหวชิร (2561). ก้าวสู่นักบัญชี แห่งโลกอนาคต. จดหมายข่าวสภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์, 71 (Nov) 19.
วัชนีพร เศรษฐสักโก (2562). ระบบสารสนเทศทางการบัญชี. กรุงเทพมหานคร : ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
วสันต์ ครองมี, ปุณยวีร์ ยังดี และพุฒิสรรค์ เกตุมรรค. (2563). ผลกระทบของทักษะนักบัญชียุคดิจิทัลที่มีผลต่อความสำเร็จในการทำงานของผู้ทำบัญชีในสำนักงานบริการด้านบัญชี จังหวัดเชียงใหม่, วารสารบริหารธุรกิจ, 2(1), 72-73.
ศรีสุดา อินทมาศ (2563). โอกาสข้ามผ่านกรอบความคิดเดิมสู่โลกใหม่สายอาชีพนักบัญชียุคดิจิทัล. จดหมายข่าวสภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์, จาก https://www.tfac.or.th/Article/Detail/126279
ศิริรัฐ โชติเวชการ (ม.ป.ป.) การใช้ประโยชน์ของ Artificial Intelligence (AI) ในงานบัญชี. จดหมายข่าวสภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์, 12-13, จาก https://www.tfac.or.th/upload/9414/pxgMPdItuZ.pdf
อรพิม ประสงค์ (2561). ความรู้เบื้องต้นและประวัติของปัญญาประดิษฐ์ : ความเป็นมาของปัญญาประดิษฐ์และการนำปัญญาประดิษฐ์มาใช้ในเทคโนโลยีการแพทย์และการดูแลสุขภาพ. จาก https://shorturl.asia/ufxnL.
อภิสรา คชรัฐแก้วฟ้า. (2566) การศึกษาผลกระทบจากการยอมรับใช้งานเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) ด้านความพึงพอใจในการทำงานของพนักงานออฟฟิศในประเทศไทย. (สารนิพนธ์ปริญญาการจัดการมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหิดล) 9 จาก https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/5260