[ถอนบทความ] ประสิทธิผลการประเมินผลการปฏิบัติงานตามข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance Agreement: PA) ของพนักงานครูเทศบาลนครปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี
คำสำคัญ:
ประสิทธิผล, การประเมินผลการปฏิบัติงาน, ตามข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA)บทคัดย่อ
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย (1) เพื่อศึกษาระดับ และ (2) เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิผลการประเมินผลการปฏิบัติงานตามข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance Agreement: PA) ของพนักงานครูเทศบาลนครปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ พนักงานครูเทศบาลในสังกัดเทศบาลนครปากเกร็ด จำนวน 83 คน หลังจากผู้วิจัยทำการเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย พบว่า ประสิทธิผลการประเมินผลการปฏิบัติงานตามข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance Agreement: PA) ของพนักงานครูเทศบาลนครปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ในภาพรวมและเป็นรายด้าน พบว่าทั้ง 4 ด้านอยู่ในระดับมากเช่นเดียวกัน เรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยได้ดังนี้ ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.22 รองลงมาคือ ด้านการพัฒนาผลลัพธ์ของผู้เรียน และด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.16 และด้านการจัดการเรียนรู้ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.11 ตามลำดับ ผลการทดสอบสมมติฐาน (1) เพื่อศึกษาระดับประสิทธิประสิทธิผลการประเมินผลการปฏิบัติงานตามข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance Agreement: PA) ของพนักงานครูเทศบาลนครปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี โดยพบว่าในภาพรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.15 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าทั้ง 4 ด้านอยู่ในระดับมากเช่นเดียวกัน เรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยได้ดังนี้ ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.22 รองลงมาคือ ด้านการพัฒนาผลลัพธ์ของผู้เรียน และด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.16 และด้านการจัดการเรียนรู้ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.11 ตามลำดับ (2) เพื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของประสิทธิผลการประเมินผลการปฏิบัติงานตามข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance Agreement: PA) ของพนักงานครูเทศบาลนครปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า พนักงานครูที่ปฏิบัติงานในสถานศึกษาที่ต่างกันส่งผลให้ประสิทธิผลการประเมินผลการปฏิบัติงานตามข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance Agreement: PA) ของพนักงานครูเทศบาลนครปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนตัวแปรอื่น ๆ ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา ตำแหน่งงาน วิทยฐานะ และระยะเวลาปฏิบัติงาน (ปี) ไม่มีผลต่อประสิทธิผลการประเมินผลการปฏิบัติงานตามข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance Agreement: PA) ของพนักงานครูเทศบาลนครปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี
References
กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น. 2562. ประกาศคณะกรรมการการพนักงานเทศบาลนนทบุรี เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขเกี่ยวกับการประเมินผลการปฏิบัติงานพนักงานครูและ บุคลากรทางการศึกษาเทศบาล พ.ศ. 2562.
กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น. 2565. ประกาศคณะกรรมการการพนักงานเทศบาลนนทบุรี เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขเกี่ยวกับการประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะพนักงานครูและบุคลากรทางการศึกษาเทศบาล พ.ศ. 2565.
กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น. 2566. ประกาศคณะกรรมการการพนักงานเทศบาลนนทบุรี เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขเกี่ยวกับการประเมินผลการปฏิบัติงานพนักงานครูและบุคลากรทางการศึกษาเทศบาล พ.ศ. 2566.
ทิพวรรณ จันทมาส. 2561. อิทธิพลของระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานที่ส่งผลต่อความรู้สึกของพนักงาน กรณีศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่. สารนิพนธ์หลักสูตรปริญญารับประสาสนศาสตร์มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
.เทศบาลนครปากเกร็ด. 2565. คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานครูและบุคลากรทางการศึกษา.
เทศบาลนครปากเกร็ด. 2566. ความเชื่อมโยงของยุทธศาสตร์ในภาพรวมของเทศบาลนคร
ปากเกร็ด. นนทบุรี. แผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ. 2566 – 2569). เทศบาลนครปากเกร็ด: 100.
เทศบาลนครปากเกร็ด. 2567. ประวัติเทศบาลนครปากเกร็ด. สืบค้น 15 มกราคม 2567, จากhttp://www.เทศบาลนครปากเกร็ด.
ธีระพันธุ์ นาคายน และ กัญญ์รัชการย์ เลิศอมรศักดิ์. 2567. ปัจจัยการบริหารที่มีอิทธิพลต่อขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1. คณะครุศาสตร์. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
นฌกร ผู้ทรงธรรม และ สุภาวดี ลาภเจริญ. 2564. ความพึงพอใจในการประเมินผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครู สหวิทยาเขตวังทองหลาง สังกัดสำนักงานพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2. วารสารการวิจัยการบริหารการพัฒนา. ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 : (เมษายน - มิถุนายน 2564).
บุญมี อรุณชัย, ดร.คฑาเทพ จันทร์เจริญ, ผศ.ดร.จินตนา จันทร์เจริญ, และ ผศ.ดร.วีรพันธุ์ ศิริฤทธิ์. 2564. ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการทำงานของบุคลากรทางการศึกษา กับประสิทธิผลการปฏิบัติงานภายใต้แนวทางการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561 ของสถานศึกษา ในสังกัดสถาบันการอาชีวศึกษา ภาคเหนือ 2. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยปทุมธานี. ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 : (มกราคม – มิถุนายน 2564).
ปณพร สุมลวรรณ. 2560. ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการครูในโรงเรียนศรีบุณยานนท์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 จังหวัดนนทบุรี. สารนิพนธ์
มหาบัณฑิตศึกษา, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา.
ปภาวี บุญเป๋า. 2559. ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการครูโรงเรียนประถมศึกษาเครือข่ายการศึกษาวังจันทร์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยอง เขต 2.
สาขาการบริหารการศึกษา.
จิตติมา อัครธิติพงศ์. 2567. ประโยชน์ของการประเมินผลการปฏิบัติงาน. สืบค้น 15 มกราคม 2567,https://www.thaischool1.in.th/_files_school/86101950/document/86101950_0 20131025-205746.pdf,
วิดาพร สุขแสงนิล. 2563. ปัจจัยทางการบริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการดำเนินงานตามมาตรฐานของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อำเภอสามพรานและอำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม.วารสารวิชาการสถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ. ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 : กรกฎาคม – ธันวาคม 2563.
วิโรจน์ สุวรรณประไพ. 2564. ทัศนคติที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรภาครัฐ ในหน่วยงานเทศบาลเมืองกระบี่. สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์.
สกุณา ใบภักดี, เยาวลักษณ์ สุตะโคตร, และ ธวัชชัย ไพใหล. 2566. ปัจจัยทางการบริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการปฏิบัติงานครูในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร เขต 3. วารสารสมาคมพัฒนาวิชาชีพการบริหารการศึกษาแห่งประเทศไทย. ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 : (มกราคม – มีนาคม 2566).
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (สำนักงาน ก.พ.). 2567. ระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน. สืบค้น 24 กุมภาพันธ์ 2567, จาก https://www.ocsc.go.th/pm" l "gsc.tab=0,
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (ก.ค.ศ.). 2564. แนวทางการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance Agreement: PA). คู่มือการดำเนินการตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาตำแหน่งครู. กระทรวงศึกษาธิการ.
โสภณา รักวัฒนศิริกุล, และพิภพ วชังเงิน. 2565. ประสิทธิผลการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลของอำเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี. วารสารนวัตกรรมการศึกษาและการวิจัย. ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 : มกราคม – มีนาคม 2566.
Afsheen Fatima Agha, Dr. S Khurram Khan Alwi and Dr. Mohammad Shaiq. 2020. Teachers’ perception of the effectiveness of teachers appraisal systems in private schools of Pakistan. New Horizons. Vol. 14, No. 1, 2020, pp 33-50.
Alice Atieno Okoth nad Oluoch Mercy Florah. 2019. Influence of Performance Appraisal on Motivation of Public Secondary School Teachers in Gem-Sub County, Kenya. American International Journal of Contemporary Research.
Vol. 9, No. 4, December 2019.
Chit hnin pwint. 2019. The Effect of Performance Appraisal System on Employee Motivation Yangon Academy International School. Yangon University of Economics Department of Management Studies MBA Programme.
Ika Raharja Salim, Fitri Aulia Rahma, Kendry Ayu Laksana, Gresi Agriany Silalahi, and Anindita Millenika Sasmita. 2023. The effect of employee performance assessment on job satisfaction at private university with work motivation as a mediator. Journal of Management. 13 (3) 2023. Instiute of Computer Science (IOCS).
Peter Ong, MD Jais Ismail, and Christina Sim Pei Pei. 2021. Performance Appraisal Management in A Malaysian Secondary school. Malaysian Journal of ocial Sciences and Humanities (MJSSH). Volume 6, Issue 4, April 2021.