การบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม: แนวทางการสร้างพลังความร่วมมือในองค์การ

ผู้แต่ง

  • สัญญาศรณฺ สวัสดิ์ไธสง สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร

คำสำคัญ:

การจัดการ, ฐานความร่วมมือ, การบริหาร

บทคัดย่อ

การบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมเป็นแนวทางการบริหารที่เปิดโอกาสให้บุคคลที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายได้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจ วางแผนดำเนินงาน และรับผิดชอบต่อผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นร่วมกัน เป้าหมายหลักคือเพื่อสร้างความร่วมมือ ความสามัคคีให้กับองค์กรส่งผลให้เกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความยั่งยืนในการดำเนินงาน การบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมเป็นแนวทางที่มีประสิทธิภาพช่วยให้บรรลุเป้าหมาย สร้างพลังความร่วมมือและสร้างความพึงพอใจให้กับทุกฝ่าย แต่ต้องมีกระบวนการที่เหมาะสม จัดการกับข้อจำกัดอย่างมีประสิทธิภาพ และจะเป็นประโยชน์ต่อบุคคลและองค์กร การที่บุคคลผู้บริหารใช้การจูงใจให้บุคคลผู้ปฏิบัติงานหรือบุคคลผู้ที่เกี่ยวข้องได้มีโอกาสมีส่วนร่วมในการคิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมปฏิบัติงาน ร่วมรับผิดชอบ เพื่อพัฒนางานที่ปฏิบัติให้มีคุณภาพสูงสุด ซึ่งเป็นการเปิดโอกาสให้บุคคลหรือกลุ่มบุคคลได้มีส่วนเกี่ยวข้องในการปฏิบัติงาน ไม่ว่าจะเป็นทางตรงหรือทางอ้อมในลักษณะของการรับรู้ ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมตัดสินใจตลอดจนการประเมินผลให้ทุกฝ่ายได้สำนึกในหน้าที่และความรับผิดขอบร่วมกัน อันจะนำไปสู่เป้าหมายขององค์กรและนำแนวทางการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมไปประยุกต์ใช้

References

จรัส สุวรรณมณี. (2564). ความหมายของการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม. สุพรรณบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏสุพรรณบุรี.

ธงชัย สันติวงษ์. (2553). หลักการจัดการ. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช จำกัด.

นงลักษณ์ ศรีสุวรรณ. (2563). หลักการและแนวทางการบริหารแบบมีส่วนร่วม. นครศรีธรรมราช: มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครศรีธรรมราช.

ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2554). การบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม. กรุงเทพฯ: ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพมหานคร.

วรัญญู บุญช่วย. (2558). การมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการตัดสินใจขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. วารสารวิจัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 13(2), 141-154.

ศิริพร แก้วมณี. (2563). การมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 - 2570). วารสารบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 43(3), 45-60.

สมชาย พูลสวัสดิ์. (2559). การบริหารแบบมีส่วนร่วม กลยุทธ์สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 13(2), 1-14.

สมชาย วงษ์ใหญ่. (2555). การบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมในองค์กร. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ไทยพัฒนาการ.

พิชญ์ ภูวชยานนท์. (2560). การมีส่วนร่วมของพนักงานในองค์กรสมัยใหม่. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อนุสรณ์ ธรรมใจ. (2560). การบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมในองค์กรสมัยใหม่. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

Brown, A. (2021). The role of participatory management in community development in Thailand (Master’s thesis). Faculty of Social Sciences, Chiang Mai University, Chiang Mai, Thailand.

Bennett, R., & O’Brien, D. (2014). Participation: A guide to good practice. Community Development Journal, 49(2), 203-222.

Edmondson, A. (1999). Psychological safety and learning behavior in work teams. Administrative Science Quarterly, 44(2), 350-383.

Cohen, J. M., & Uphoff, N. T. (1980). Participation’s place in rural development: Seeking clarity through specificity. World Development, 8, 213-235.

Dirks, K. T., & Ferrin, D. L. (2002). Trust in leadership: Meta-analytic findings and implications for research and practice. Journal of Applied Psychology, 87(4), 611-628.

Greenberg, J., & Baron, R. A. (2003). Behavior in organizations: Understanding and managing the human side of work. Prentice Hall.

Gonzalez, C. (2014). The role of technology in participative management: A case study. Journal of Business Communication, 51(4), 384-401.

Jones, M. (2022). A study of participatory management in public organizations in Thailand (Master’s thesis). Faculty of Political Science, Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand.

Katzenbach, J. R., & Smith, D. K. (2005). The wisdom of teams: Creating the high-performing organization. Harper Collins.

Kirkman, B. L., & Rosen, B. (1999). Beyond self-management: Antecedents and consequences of team empowerment. Academy of Management Journal, 42(1), 58-74.

Katzenbach, J. R., & Smith, D. K. (1993). The wisdom of teams: Creating the high-performance organization. Harper Business.

Locke, E. A., & Latham, G. P. (2002). Building a practically useful theory of goal setting and task motivation: A 35-year odyssey. American Psychologist, 57(9), 705-717.

Likert, R. (1961). New patterns of management. McGraw-Hill.

Robinson, S. P. (2015). Organizational behavior. Pearson.

Senge, P. M. (1990). The fifth discipline: The art and practice of the learning organization. Doubleday.

Tjosvold, D. (2008). The cooperative and competitive dilemma in managing groups. International Journal of Conflict Management, 19(3), 290-307.

Vroom, V. H., & Yetton, P. W. (1973). Leadership and decision-making. University of Pittsburgh Press.

McGregor, D. (1960). The human side of enterprise. McGraw-Hill.

Mayo, E. (1945). The social problems of an industrial civilization. Routledge.

Smith, J. (2023). The impact of participatory management on employee performance in manufacturing companies in Thailand (Doctoral dissertation). Faculty of Business Administration, University of the Thai Chamber of Commerce, Bangkok, Thailand

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-18

How to Cite

สวัสดิ์ไธสง ส. (2024). การบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม: แนวทางการสร้างพลังความร่วมมือในองค์การ. วารสารการบริหาร การจัดการ และการพัฒนาที่ยั่งยืน ISSN: 2985-2366 (Online), 2(4), 841–852. สืบค้น จาก https://so15.tci-thaijo.org/index.php/jamsd/article/view/562