การสร้างแรงจูงใจในการทำงานสมัยใหม่
คำสำคัญ:
แรงจูงใจ, การทำงาน, สมัยใหม่บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอการสร้างแรงจูงใจในการทำงานสมัยใหม่ แรงจูงใจในการทำงาน การสร้างแรงจูงใจในการทำงานของบุคลากรภาครัฐ การสร้างแรงจูงใจในการทำงานของบุคลากรภาคเอกชนทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ การจูงใจนั้นเป็นกระบวนการที่บุคคลถูกกระตุ้นจากสิ่งเร้าที่อยู่รอบข้าง ซึ่งสามารถแบ่งได้ดังนี้ 1) กลุ่มทฤษฎีเนื้อหา ซึ่งจะครอบคลุมถึงทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการ ทฤษฎีแรงจูงใจภายใน และทฤษฎีแรงจูงใจภายนอก ประกอบด้วย (1) ทฤษฎีลำดับความต้องการของมาสโลว์ (2) ทฤษฎีสองปัจจัย (3) ทฤษฎี X และทฤษฎี Y 4) ทฤษฎี ERG และ 2) กลุ่มทฤษฎีกระบวนการ ทฤษฎีความเป็นธรรม ทฤษฎีความคาดหวัง รวมถึงแนวทางในการจูงใจที่มีความสำคัญในยุคสมัยปัจจุบันเพื่อนำไปใช้ประสานกับการทำงานเพื่อให้การทำงานเกิดประสิทธิภาพสูงสุด
References
อรพินทร์ ชูชม. (2555). แรงจูงใจในการทำงาน: ทฤษฎีและการประยุกต์. วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต. 2(2) มกราคม-ธันวาคม 2555.
อรพินทร์ ชูชม, อัจฉรา สุขารมณ์และวิลาสลักษณ์ ชัววัลลี. (2542). การพัฒนาแบบวัดแรงจูงใจภายใน. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
อรพินทร์ ชูชม, อัจฉรา สุขารมณ์ และอังศินันท์ อินทรกำแหง.(2553). การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างครอบครัว งานกับคุณภาพชีวิต. วารสารพฤติกรรมศาสตร์, 16(2), 32-49.
จักรี ศรีจารุเมธีญาณ. (2560). การบริหารทรัพยากรมนุษย์ในภาครัฐ. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน.
ณัฏฐ์พัชร์ ลาภบำรุงวงศ์. (2562). การประยุกต์ทฤษฎีแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 9(2) พฤษภาคม-สิงหาคม 2562.
ปฐมวงค์ สีหาเสนา. (2557). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรเทศบาลตำบลค่ายเนินวง ตำบลบางกะจะอำเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี. หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา.
จักรี ศรีจารุเมธีญาณ. (2563). แรงจูงใจในการทำงาน:ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน.
พิมสิริ ติยะโคตร. (2556). การสร้างแรงจูงใจในการทำงาน. สืบค้นจาก
https://sites.google.com/site/anthikabac/kar-srang-raeng-cungci-ni-kar-thangan
ชนิดา คุณทองคำ. (2556). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินภูมิภาคที่ 2, ชลบุรี: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
Thanatporn Suthisansanee. (2012). ทฤษฎีมาสโลว์ ลำดับขั้นความต้องการ Maslow’s. สืบค้นจาก https://thewisdom.co/content/maslows-hierarchy-of-needs.
Digitized Company. (2563). วิธีการสร้างแรงบันดาลใจ ให้พนักงานในองค์กรของคุณเพื่อการทำงานที่ดีขึ้น. สืบค้นจาก https://www.ko.in.th/สร้างแรงบันดาลใจให้กับพนักงาน.
Sukhum Rattanasereekiat. (2012). ทฤษฎีของการจูงใจ (theories of motivation). สืบค้นจาก http://pmcexpert.com/-theories-of-motivation.
Zaeema Asrar Mohiuddin. (2018). แรงจูงใจเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของพนักงาน: การเปรียบเทียบ
พนักงานภาครัฐและเอกชนในปากีสถาน. วารสารวิจัยสังคมศาสตร์ก้าวหน้า, มหาวิทยาลัยการาจีราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน, 5(4).
Disley, P., Hatton, C., & Dagnan, D. (2009). Applying equity theory to staff working withindividuals with intellectual disabilities. Journal of Intellectual & Development Disability, 34(1), 55-66.
Frederick, W. Tr. (1911). The Principles of Scientific Management. New York: Harper and Brothers.
Herzberg,F., Bernard, M. & Snyderman, B. (1959). The Motivation to Work. New York: John Willey & Sons.
Amabile, T. M. (1993). Motivational synergy: Toward new conceptualization of intrinsic and extrinsic motivation in the workplace. Human Resource Management Review, 3(3), 185-201.
Barnes, S. J., & Pressed, A. D. (2012). Who needs real-life? Examining needs in virtual worlds. Journal of Computer Information Systems. 52(4), 40-48.
Latham, G. P., & Pinder, C. C. (2005). Work motivation theory and research at the dawn of the twenty-first century. Annual Review of Psychology, 56, 485-516.
layton, P. A. (1972). Existence, Relatedness & Growth: Human Needs in Organizational Setting. New York: The Free Press.
Loudon, D.L., & Bitta, D. A. J. (1988). Consumer Behavior: Concept and Applications(3rd ed). New York: McGraw-Hill.
Maslow, A.H. (1943). A Theory of Human Motivation. Psychological Review, p.370-396.
McGregor, D. (1960). The Human Side of Enterprise. New York: McGraw-Hill.
Pinder, C. (1998). Work Motivation in Organizational Behavior. Upper Saddle River, NJ: Prentice-Hall.
Gagne, M., & Deci, E. (2005). Self-determination theory and work motivation. Journal of Organizational Behavior. 26, 331-362.
Walter, K. (1978). The Working Class in Welfare Capitalism. London: Routledge & Kegan Paul.
Wahba, M. A., & Bridwell, L. G. (1973). Maslow reconsidered: A review of research on the need hierarchy theory. Academy of Management Proceedings. 514-520.