การฝึกสมาธิเพื่อพัฒนาบุคลิกภาพ

Main Article Content

กนกวรรณ ปรีดิ์เปรม

บทคัดย่อ

บุคลิกภาพของมนุษย์มีความจำเป็นอย่างมากในสังคมโลก ไม่ว่าจะเป็นการใช้ชีวิตประจำวัน การทำกิจการงานต่าง ๆ จำเป็นต้องมีบุคลิกภาพที่ดี คนส่วนใหญ่มักมองหน้าตา กิริยา ท่าทาง พฤติกรรมของคนนั้น ๆ เสียก่อน เพราะเชื่อว่าการมีบุคลิกภาพภายนอกดีนั้น ย่อมกำหนดได้ถึงบุคลิกภาพภายในหรือจิตใจของคนผู้นั้นได้ด้วย ดังนั้นการนำสมาธิมาประยุกต์ใช้กับบุคลิกภาพ ย่อมสามารถพัฒนาบุคลิกภาพให้ดีขึ้นได้ การมีบุคลิกภาพดี สามารถแก้ไขจุดด้อยของคนผู้นั้นให้กลายเป็นจุดเด่นขึ้นมาได้ บุคลิกที่ดีย่อมนำความสุขมาให้ทั้งแก่ตนเองรวมถึงผู้อื่นได้

Article Details

How to Cite
ปรีดิ์เปรม ก. (2022). การฝึกสมาธิเพื่อพัฒนาบุคลิกภาพ. วารสาร ปัญญาลิขิต, 1(3), 54–60. สืบค้น จาก https://so15.tci-thaijo.org/index.php/PYJ/article/view/873
บท
บทความวิชาการ

References

คัคนางค์ มณีศรี. (2559). จิตวิทยาทั่วไป (General Psychology). พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: ช่อระกา.

จิรประภา อัครบวร. (2550). คุณค่าคน คุณค่างาน. กรุงเทพฯ: เต๋า.

พระธรรมสิงหบุราจารย์ (หลวงพ่อจรัญ ฐิตธมฺโม). (2539). กรรมฐานบริหารจิต. กรุงเทพฯ: ธรรมสภา.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2556). พจนานุกรมฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 21. กรุงเทพฯ: ผลิธัมม์.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2559). การแพทย์ยุคใหม่ในพุทธทัศน์. พิมพ์ครั้งที่ 17.กรุงเทพฯ: ผลิธัมม์.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

สถิต วงศ์สวรรค์. (2540). การพัฒนาบุคลิกภาพ. กรุงเทพฯ: รวมสาสน์.

สุเทพ เชาวลิตร. (2558). นักบริหารสมัยใหม่. กรุงเทพฯ: เสมาธรรม.