Tourism components, Marketing mix, and Integrated marketing communication affecting Sustainable tourism in Uttaradit Province
Main Article Content
Abstract
This research article aimed to (1) study the levels of tourism components, marketing mix, integrated marketing communication, and sustainable tourism in Uttaradit Province, and (2) analyze the factors of tourism components, marketing mix, and integrated marketing communication that influence sustainable tourism in Uttaradit Province. This study employed a quantitative research methodology, with Uttaradit Province as the research area. The sample consisted of 443 Thai tourists who traveled to Uttaradit Province, selected through purposive sampling. The research instrument was a questionnaire, and data were analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation, and hypothesis testing through multiple regression analysis. The research findings revealed that (1) the respondents' opinions toward tourism components, marketing mix, integrated marketing communication, and sustainable tourism were at a high level, with tourism components rated the highest, followed by marketing mix, integrated marketing communication, and sustainable tourism, respectively; and (2) the factors of tourism components, marketing mix, and integrated marketing communication significantly influenced sustainable tourism in Uttaradit Province.
Key findings indicated that friendliness of local people, physical environment, and advertising were crucial factors affecting sustainable tourism. These findings highlight the importance of efficient area management. Accordingly, Uttaradit Province can utilize the research results to improve tourism management policies, aiming to enhance sustainability across economic, social, and environmental dimensions in a balanced manner.
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial 4.0 International License.
References
กรมการท่องเที่ยว. (2565). แผนพัฒนาบริการท่องเที่ยว พ.ศ. 2566 – 2570. กรุงเทพฯ: กองพัฒนาการท่องเที่ยว, กรมการท่องเที่ยว.
กรรณิการ์ ไกรกิจราษฎร์, โชติ บดีรัฐ และศรชัย ท้าวมิตร. (2567). การบริหารจัดการศักยภาพการท่องเที่ยวโดยชุมชนแบบยั่งยืนเครือข่ายท่องเที่ยวโดยชุมชนสุโขทัย. Journal of Roi Kaensarn Academi, 9(9), 333-349.
กองเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว. (2568). Infographic สถานการณ์ด้านการท่องเที่ยว 2024P. สืบค้นเมื่อ 18 กุมภาพันธ์ 2567, จาก https://www.mots.go.th/news/category/794
กองเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว. (2568). สถานการณ์พักแรม จำนวนผู้เยี่ยมเยือน และรายได้จากผู้เยี่ยมเยือน เดือนมกราคม - ธันวาคม 2567 (เบื้องต้น). สืบค้น 18 กุมภาพันธ์ 2567, จาก https://www.mots.go.th/news/category/760
จิตติพร จิตต์ภักดิ์ และ ณฐมน บัวพรมมี. (2567). วิดีโอสั้นบนแพลตฟอร์มโซเชียลมีเดียสำหรับการตลาดการท่องเที่ยวชุมชน. วารสารเครือข่ายส่งเสริมการวิจัยทางมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 7(3), 73-95.
ชุมพล รอดแจ่ม และคณะ. (2567). การส่งเสริมและพัฒนาขีดความสามารถในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับเศรษฐกิจฐานรากของวิสาหกิจชุมชนท่องเที่ยวเชิงเกษตร จังหวัดสมุทรสงคราม. เสฏฐวิทย์ปริทัศน์, 4(3), 577-588.
ชุษณะ เตชคณา. (2565). การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ 4.0. กรุงเทพฯ: กู๊ด คอมมิวนิเคชั่น.
ณหทัย มุขดีสุทธวัฒน์. (2565). ความคาดหวังและการรับรู้ด้านสิ่งดึงดูดใจทางการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่เดินทางมายังพื้นที่อำเภอลับแลจังหวัดอุตรดิตถ์ (การค้นคว้าอิสระศิลปะศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
ทัศนียา กิตติภาคย์พฤทธ์, ฑัตษภร ศรีสุข และอัศนีย์ ณ น่าน. (2563). พฤติกรรมนักท่องเที่ยวและปัจจัยส่วนประสมการตลาดบริการที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยวแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ในจังหวัดลำปาง. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเวสเทิร์นมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 6(3), 72-84.
ธนพล แก้วสังข์. (2564). ความพึงพอใจต่องอค์ประกอบแหล่งท่องเที่ยวและประสบการณ์การท่องเที่ยวบ่อน้ำพุร้อนที่ส่งผลต่อการกลับมาเยือนซ้ำของนักท่องเที่ยวชาวไทย กรณีศึกษา บ่อน้ำพุร้อนเค็ม อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
นรา พงษ์พานิช และ กฤษฎา ฉิมพลีวัฒน์. (2568). การสร้างอัตลักษณ์ภูมิปัญญาอาหารพื้นถิ่น จังหวัดระนอง สู่การท่องเที่ยวชุมชน. วารสารการบริหารปกครองและนวัตกรรมสังคม, 2(1), 28 – 46.
นฤภร ชูสุวรรณ. (2565). การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ คุณภาพการบริการ และแรงจูงใจในการท่องเที่ยวที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจและความภักดีของนักท่องเที่ยวที่ใช้บริการที่พักในเกาะล้าน จังหวัดชลบุรี (วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ปฏิพัทธ์ ตันมิ่ง และคณะ. (2567). แนวทางการส่งเสริมทางการตลาดการท่องเที่ยวเชิงกีฬา จังหวัดเชียงราย. วารสารวิชาการการบินการเดินทางและการบริการ, 3(2), 26-47.
ปิยมาภรณ์ เทียมจิตร และ ฉัตรชัย อินทสังข์. (2565). การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการที่มีต่อการรับรู้และการตัดสินใจของนักท่องเที่ยวเจนเนอเรชั่นวาย. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 42(2), 22–35.
ฝนริน ชนะกำโชคเจริญ และ วงศ์ลัดดา วีระไพบูลย์. (2564). ปัจจัยเชิงผลลัพธ์ตลาดเชิงประสบการณ์ของนักท่องเที่ยว ชาวไทยที่มาเยือนพิพิธภัณฑ์มิวเซียมสยาม. วารสารวิชาการการท่องเที่ยวไทยนานาชาติ, 17(1), 81-103.
พระครูสังฆรักษ์เอกลักษณ์ อชิโต และคณะ. (2568). การบริหารจัดการวัดเพื่อการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอย่างยั่งยืน. วารสารพุทธนวัตกรรมและการจัดการ, 8(2), 1-14.
พระมหาเกริกเกียรติ นิรุตฺติเมธี (ไพศาลเจริญลาภ). (2568). กลยุทธ์การตลาดผ่านอินฟลูเอนเซอร์ในการส่งเสริมการท่องเที่ยวเมืองรอง. วารสารนวัตกรรมสังคมศาสตร์, 2(1), 48-59.
พลธนธรณ์ ประดิษฐเวทย์. (2563). ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจและการกลับมาท่องเที่ยวซ้ำของนักท่องเที่ยว ที่มีต่อชมชนท่องเที่ยว ธ.ก.ส. ในเขตพื้นที่ภาคใต้ของประเทศไทย (สารนิพนธ์การจัดการมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหิดล.
พิมพวรรณ สุ่มขำ. (2566). ปัจจัยด้านส่วนประสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจของนักท่องเที่ยวในการท่องเที่ยวเมืองรอง จังหวัดน่าน (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
พิริยะ เงินศรีสุข และ เสรี วงศ์มณฑา. (2563). การสื่อสารการตลาดดิจิทัลสำหรับนักท่องเที่ยวกลุ่ม เจนเนอเรชั่น ซี. วารสารสหวิทยาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 3(2), 298-310.
เพ็ชราภรณ์ ชัชวาลชาญชนกิจ. (2564). องค์ประกอบการท่องเที่ยวที่มีอิทธิพลต่อภาพลักษณ์การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของจังหวัดระนอง (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
ภานุวัฒน์ กิจเกศาเจริญ และ พสชนันท์ บุญช่วย. (2567). ศักยภาพการตลาดและความต้องการสมุนไพรไทยของธุรกิจสปา เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ. วารสารสังคมศาสตร์และวัฒนธรรม, 8(8), 262-273.
ยุทธการ ไวยอาภา และคณะ. (2566). การจัดการทรัพยากรท้องถิ่นด้วยนวัตกรรมการท่องเที่ยวเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่างยั่งยืน. วารสารวิชาการวิทยาลัยบริหารศาสตร์, 6(4), 107-123.
รัฐพล ภุมรินทร์พงศ์. (2567). แนวทางการพัฒนาศักยภาพทุนทางวัฒนธรรมเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงของตำบลป่ามะม่วง อำเภอเมือง จังหวัดตาก. วารสาร มจร พุทธปัญญาปริทรรศน์, 9(6), 65-82.
เริงศักดิ์ เพชรหัสตระกูล, เดือนเพ็ญ ภูริเรืองกิตติ์ และสุชาติ เทเวศม์อุดม. (2567). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการจัดการอำนาจละมุนทางวัฒนธรรมของประเทศไทยสู่ความยั่งยืน. เสฏฐวิทย์ปริทัศน์, 4(2), 91-103.
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์ และอัจฉรา ชำนิประศาสน์. (2545). ระเบียบวิธีการวิจัย. กรุงเทพฯ: พิมพ์ดี.
วัชรินทร์ พรหมเกตุ และ ภรณ์นภัส เบินท์. (2566). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการท่องเที่ยววิถีใหม่ของนักท่องเที่ยวชาวไทยในเขตอำเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด, 17(3), 130-145.
ศศิประภา พรหมทอง. (2568). ปัจจัยเชิงสาเหตุของคุณภาพการบริการที่มีผลต่อการรับรู้คุณค่าและการตัดสินใจของนักท่องเที่ยวสายมูเตลู ในจังหวัดหนองคาย จังหวัดบึงกาฬ และจังหวัดอุดรธานี. วารสารรัชต์ภาคย์, 19(62), 182-203.
ศิริชัย กาญจนวาสี. (2545). ทฤษฎีการประเมิน. พิมพ์ครั้งที่ 3 กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สวิตา อยู่สุขขี และ อรคนางค์ นวลเจริญ. (2568). การสื่อสารการตลาดดิจิทัลเพื่อสร้างการรับรู้ของ OTOP นวัตวิถีบ้านพุแค อ. เฉลิมพระเกียรติ จ. สระบุรี. วารสารสุทธิปริทัศน์, 36(2), 83-98.
สุกัญญา บูรณเดชาชัย และ พงษ์วุฒิ ดวงศรี. (2567). กลยุทธ์การสื่อสารการตลาดออนไลน์ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวในประเทศไทยของนักศึกษาชาวจีนมหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี. วารสารธรรมเพื่อชีวิต, 30(4), 222-244.
อนิรุทธิ์ เจริญสุข, วาริท วสยางกูร และ มนษิรดา ทองเกิด. (2568). กลยุทธ์การสื่อสารเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่างยั่งยืนของชุมชนปากน้ำประแส อำเภอแกลง จังหวัดระยอง. วารสารศิลปการจัดการ, 9(1), 18-35.
อัจฉรา เมฆสุวรรณ และคณะ. (2567). การสร้างแบรนด์และส่วนประสมทางการตลาดที่มีต่อการรับรู้คุณค่าผลิตภัณฑ์ชุมชน ของจังหวัดลำปาง. วารสารการจัดการและการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 11(1), 99-110.
อัษฎากรณ์ ฉัตรานันท์ และคณะ. (2568). พัฒนาการและ พลวัตของวิสาหกิจการท่องเที่ยวโดยชุมชนเพื่อสังคมในประเทศไทย. วารสารวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี, 7(1), 1-17.
เอกพล แสงศรี. (2566). การเปรียบเทียบปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ชุมชนของผู้บริโภค อำเภอปะคำ จังหวัดบุรีรัมย์. วารสารศรีวนาลัยวิจัย, 13(2), 72-84.
โอปอล์ รังสิมันตุชาติ และทิพาพร โพธิ์ศรี. (2564). การพัฒนากิจกรรมท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่นคอรุม จังหวัดอุตรดิตถ์. Journal of Modern Learning Development, 6(3), 355-369.
Belch, G. & Belch, M. (2020). Advertising and Promotion. New York: McGraw-Hill.
Buhalis, D. (2000). Marketing the competitive destination in the future. Tourism Management, 21(1), 97-116.
Kotler, P., Kartajaya, H. & Setiawan, I. (2021). Marketing 5.0: Technology for Humanity (1 ed.). United States: John Wiley & Sons.
Kotler, P., Keller, K. L., Ang, S. H., Tan, C. T. & Leong. S. M. (2018). Marketing Management, An Asian Perspective (7th ed.). Harlow, United Kingdom: Pearson Education Limited.
Wongmontha, S. (2022). Promoting contemporary tourism in the era of big data. Phayao: College of Management, University of Phayao.
World Tourism Organization. (2017). Measuring Sustainable Tourism: A Call for Action. Report of the 6th International Conference on Tourism Statistics, Manila, Philippines, 21 – 23 June 2017, UNWTO, Madrid.
World Tourism Organization. (2022). Measuring the Sustainability of Tourism – Learning from Pilots. UNWTO, Madrid. DOI: https://doi.org/10.18111/9789284424061
Yamane, T. (1973). Statistics: an introductory analysis. New York: Harper & Row.