การพัฒนาจริยธรรมของผู้นำตามแนวพุทธ
คำสำคัญ:
การการพัฒนาจริยธรรม, ผู้นำ, แนวพุทธบทคัดย่อ
การพัฒนาจริยธรรมของผู้นำถือว่าเป็นสิ่งหนึ่งที่มีความสำคัญอย่างยิ่งเพราะหากผู้นำขาดซึ่งคุณธรรมจริยธรรมย่อมทำให้ตน ประชาชน สังคมและประเทศชาติเกิดความเสียหายได้มากกว่าบุคคลทั่วไป ปัญหาการขาดคุณธรรมจริยธรรมของผู้นำ ย่อมทำให้ผู้นำไม่เป็นที่ยอมรับต่อบุคคลทั่วไปในองค์กรและในสังคม
พระพุทธศาสนามีหลักธรรมสำหรับผู้นำในการพัฒนาตน การพัฒนาคน และการพัฒนางานเพื่อความมั่นคง มั่งคั่ง ยังยืนของตน ประชาชน สังคมและประเทศชาติ การพัฒนาสังคมอย่างแท้จริงนั้นจะต้องเริ่มต้นจากการพัฒนาตนเองเสียก่อนโดยการพัฒนาที่จิตใจ จะเห็นได้ว่าการพัฒนานี้เป็นสิ่งที่มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งต่อมนุษย์โลกตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ฉะนั้นการพัฒนาควรเริ่มต้นจากคนก่อนโดยบูรณาการกับหลักพุทธธรรมโดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้นำเพราะบุคคลเหล่านี้อยู่ในตำแหน่งที่มีอำนาจมีหน้าที่ และสามารถกำหนดทิศทางของการพัฒนาได้
References
คณาจารย์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2549). พระพุทธศาสนากับการเมืองการปกครอง. พระนครศรีอยุธยา : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
จำนง อดิวัฒนสิทธิ์. (2541). เอกสารประกอบคำบรรยายเรื่องคุณธรรมและจริยธรรมคืออะไร. ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาคณะสังคมศาสตร์: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ดวงเดือน พันธุมนาวิน. (2524). พฤติกรรมศาสตร์เล่ม 2 : จิตวิทยาจริยธรรมและจิตวิทยาภาษา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช จำกัด.
ทินพันธ์ นาคะตะ. (2544). พระพุทธศาสนากับสังคมไทย. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: หจก. สหายบล็อกการพิมพ์.
ทินพันธ์ นาคะตะ. (2539). พระพุทธศาสนากับสังคมไทย. กรุงเทพฯ: สหธรรมมิก.
พิทูร มลิวัลย์. (2540). แบบเรียนวิชาธรรมและนักธรรมชั้นตรี. กรุงเทพฯ: กรมการศาสนา.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตโต). (2537). มองอเมริกามาแก้ปัญหาไทย. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโกมลคีมทอง.
พระไพศาล วิสาโล. (2546). พระพุทธศาสนาไทยในอนาคต แนวโน้นและทางออกจากวิกฤติ. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.
พระราชวรมุนี (ป.อ. ปยุตฺโต). (2529). พจนานุกรมพุทธศาสตร์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์การศาสนา.
เฟรด อี ฟีดเลอร์, มาร์ติน เอ็ม เซเมอรส์ และลินดา มาฮาร์. (2531). ค้นหาความเป็นผู้นำ. เรียบเรียงโดยชูชัย สมิทธิไกร. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
มนตรี พีรพลพิพัฒน์. (2540). “จริยธรรมกับภาวะผู้นำ: ศึกษาทัศนะนักวิชาการรัฐศาสตร์ในมหาวิทยาลัยแห่งประเทศที่มีต่อผู้นำทางการเมือง”. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. คณะสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์: มหาวิทยาลัยมหิดล.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
วศิน อินทสระ. (2549). พุทธจริยศาสตร์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ธรรมดา.
วิรัช วิรัชนิภาวรรณ. (2549). การพัฒนาเมืองและชนบทประยุกต์. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ฟอร์เพช.
ศิลาวัฒน์ ชัยวงศ์. (2561). “จริยธรรมของนักการเมืองในระบบการเมืองไทย”. วารสารสังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ฉบับที่ 1 ปีที่ 6 มกราคม-มิถุนายน.
สนธยา พลศรี. (2550). เครือข่ายการเรียนรู้งานพัฒนาชุมชน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์.
T.R. Batten. (1995). Community and Their Development. London: Oxford University Press.