เอสโตเนีย : ประสบการณ์การเดินทางท่องเที่ยวในทาลลินท์ ประเทศ
คำสำคัญ:
เอสโตเนีย, ประเทศดิจิทัล, ทาลลินน์บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้ มุงศึกษาเชิงพื้นที่ของประเทศเอสโตเนีย ผ่านการเล่าเรื่องในพื้นที่ของการท่องเที่ยวทาลลินน์ เมืองหลวงของประเทศเอสตโตเนีย ใช้วิธีการศึกษาจากเอกสาร งานวิจัย การสังเกตเชิงพื้นที่ เขียนเป็นความเรียงในรูปแบบบทความวิชาการ
ผลการการศึกษาพบว่า เอสโตเนียเป็นประเทศที่มีพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ของความรัฐชาติโดยแยกประเทศมาจากรัสเซียภายหลังยุคสงครามเย็น ได้มีการสร้างพัฒนการของประเทศโดยใช้ทรัพยากรบุคคลเป็นกลไกสำคัญ จนกระทั่งประเทศเป็นผู้นำในการพัฒนาผ่านความเป็นรัฐบาลดิจิทัล และเป็นเมืองที่มีพัฒนาการสำคัญอย่างยิ่งยวด จนกลายเป็น E-Government และใช้ระบบ Digital เป็นกลไกสำคัญในการบริหารประเทศ ในส่วนเมืองทาลลินน์ที่เดินทางเป็นพื้นที่เมืองมรดกโลกของประเทศ เป็นพื้นที่ของการท่องเที่ยว และมีจุดเชื่อมโยงระหว่างประเทศฟินแลนด์ Helsinki ที่มีเรือสำราญขนาดใหญ่ และเดินทางสะดวก ทำให้เป็นเมืองท่องเที่ยวที่มีคนนิยมเดินทางไปท่องเที่ยว นับเป็นเมืองที่สถาปัตยกรรมเป็นเอกลักษณ์ มีความโดดเด่นแห่งยุโรปตะวันออก เชื่อมโยงกับประเทศยุโรปอื่นๆ ในด้านการท่องเที่ยวอย่างสำคัญ
References
ชัยณรงค์ อริยะประเสริฐ. (2561). ความแยบยลในพื้นที่พิพิธภัณฑ์ : ทัศนศึกษาพิพิธภัณฑ์ ในเอสโตเนีย
สวีเดน และฟินแลนด์. Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social
Sciences and arts) ฉบับภาษาไทย มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ.11 (2),1896-1811.
ณพัชญ์ปภา สว่างนุวัตรกุล. (2566). e- Estonia รูปธรรมรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์. วารสารช่อพะยอม.
(2), 347-360.
ณัฐวีร์ พุ่มระชัฏร์ ปรีชญาณ์ นักฟ้อน. (2566). นวัตกรรมการพัฒนา: เส้นทางการสร้างรัฐบาลดิจิทัล
เปรียบเทียบเอสโตเนียกับไทย. วารสารบัณฑิตพิจารณ์ด้านรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์
คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2 (2),19-44.
นลินณัฐ ดีสวัสดิ์. (2019). แนวทางการนำกลิ่นมาใช้เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ในพิพิธภัณฑ์ : กรณีศึกษา
พิพิธภัณฑ์ เอสโตเนียนเฮลธ์แคร์ ประเทศเอสโตเนีย และ พิพิธภัณฑ์เฮลซิงกิซีตี้ ประเทศฟินแลนด์.
Veridian E-Journal,Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts).
(2),804-816.
สมพงษ์ จิตระดับ,พจนา อาภานุรักษ์. (2564). แนวทางการพัฒนาคุณภาพเยาวชนพลเมือง : การเปรียบเทียบ
กรอบความคิดแบบเติบโตของประเทศไทย สาธารณรัฐเอสโตเนีย และสิงคโปร์. วารสารมหาวิทยาลัย
ราชภัฎยะลา. 16 (3),406-414.
สุรพล สุวรรณ. (2551). การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม ของเมืองทาลินน์ ประเทศสาธารณรัฐเอสโตเนีย.
งานวารสารวิชาการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. 8 (1),10-18.
ไอริน โรจน์รักษ์. (2564). จาก Estonia สู่ E-Estonia : ถอดบทเรียน 30 ปี ธรรมาภิบาลกับการปฏิรูปภาครัฐ
วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์นายเรืออากาศ. 6 (0),161-174.
Aasmae, Kalev. (2015). "'This is so freaking huge man, it's insane': The plan to let anyone
become European – digitally". ZDNet. Retrieved 2 February 2015.
Cuthbertson, Anthony (7 October 2014). "Estonia First Country to Offer E-Residency Digital
Citizenship". International Business Times. Retrieved 2 February 2015.
E-Estonia. (2013). "e-Estonia:Life in a networked Society". e-Estonia. 13 February 2013.
Retrieved 2 February 2015 – via YouTube.
Key Takeaways. (2564). Estonia’s Digital X Road: e-Revolution ของประเทศเอสโตเนีย. สำนักงาน
พัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์. สืบค้นเมื่อ 15 มกรคม 2567. จาก
https://www.etda.or.th/th/Useful-Resource/Knowledge-Sharing/Articles/Estonia-
Digital-X-Road.aspx
Mansel, Tim (16 May 2013). "How Estonia became E-stonia". BBC News. Retrieved 2 February
Scott, Mark (8 October 2014). "Estonians Embrace Life in a Digital World". The New York
Times. Retrieved 2 February 2015.
The Economist. (2014). "Estonia takes the plunge". The Economist. 26 June 2014.
Archived from the original on 1 July 2014. Retrieved 2 February 2015.
The World Bank. (2014)."e-Estonia: The Making of An Information Age Society". The World
Bank. 27 May 2014. Retrieved 2 February 2015.
Wikiwand. (2024). Lennart President of Estonia from 1992 to 2001 Retrieved 5 March 2024.