แนวทางการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี

ผู้แต่ง

  • ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์ ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์ 3170600484

คำสำคัญ:

การใช้เทคโนโลยี, การบริหารคณะวิทยาการ, มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารคณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี (2) เพื่อศึกษาแนวการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารคณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหาร รองคณบดี อาจารย์ผู้สอนสายวิชาการ คณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ปีการศึกษา 2566 จำนวน 55 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่างในการวิจัย โดยการเปิดตารางเครจ์ซี่และมอร์แกน โดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย ได้แก่ อาจารย์ผู้สอนและผุ้บริหารในสถานศึกษา การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารคณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี จำนวน 52 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามประมาณค่า 5 ระดับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่  ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ผลการวิจัยพบว่า (1) สภาพปัจจุบัน ปัญหาและอุปสรรคการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารคณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และ (2) หลักและวิธีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของคณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก  

ทั้งนี้ควรมีการส่งเสริมและพัฒนาการใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยเรื่องการพัฒนาหลักสูตรในการบริหารการศึกษาเพื่อให้มีการพัฒนาที่มากยิ่งขึ้น ให้ความรู้ด้านการใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยในเรื่องการวางแผนด้านงานงบประมาณ มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยในการวางแผนอัตรากำลัง และจัดหา เครื่องมืออุปกรณ์ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศมีความทันสมัยและเพียงพอ

Author Biography

ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์, ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์

นนทบุรี

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2548). การดำเนินการถ่ายโอนภารกิจด้านการศึกษาให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.

กฤษณา พา สว่าง, อธิป เกตุ สิริ, ชวน คิด มะ เสนะ. (2565). สภาพ การ ใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศ และ การ สื่อสาร ใน การ บริหาร สถาน ศึกษา ขั้น พื้นฐาน สังกัด สำนักงาน เขต พื้นที่ การ ศึกษา มัธยมศึกษา เขต 29. วารสาร วิชาการ มหาวิทยาลัย ราชภัฏ ศรีสะเกษ, 16(2), 153-170.

วรุฒน์ ม่วงนาค. (2566). การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศการจัดเก็บข้อมูลออนไลน์เพื่อการ บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์เขต2. วารสารการจัดการภาครัฐและการเมือง, 1(3), หน้า-30

ชลธิชา ดวงจินดา, ธีรพจน์ แนบเนียน, ไกรวิชญ์ ดีเอม. (2566). การศึกษาปัญหาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการบริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรีเขต 3. วารสารครุศาสตร์คณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์, 6(2), 157-169.

ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2566). การบริหารงานวิชาการเพื่อการพัฒนาการสอนออนไลน์ วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ด้วยเทคนิคการเรียนรู้ร่วมกัน สำหรับบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยเอกชน ในประเทศไทย, วารสารสหวิทยาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 6(6), 3011-3028.

ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์, ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในสถานศึกษา กลุ่ม โรงเรียน, วารสารพัฒนศิลป์วิชาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ กระทรวงวัฒนธรรม, 7(2), 39-52.

ศรีประภา ฮองต้น, นงลักษณ์ ใจฉลาด. (2566). การศึกษาบทบาทการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ ของผู้บริหารสถานศึกษา. วารสารวิชาการเครือข่ายบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ, 5(6), 62-75.

ศรีประภา ฮองต้น, นงลักษณ์ ใจฉลาด. (2566). ความสัมพันธ์ระหว่างบทบาทการบริหาร เทคโนโลยีสารสนเทศของผู้บริหารสถานศึกษากับจริยธรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของ ครู. วารสารวิชาการเครือข่ายบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ, 13(2), 82-93.

บุศรา นาคแก้ว, ธีระพงศ์ บุศรากูล. (2565). สมรรถนะการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศของผู้บริหาร สถานศึกษาเอกชนเขตบางกะปิกรุงเทพมหานคร. วารสารสิรินธรปริทรรศ์น, 23(1), 205-212.

สกชาติ วินิตกฤษฎา, ภาณุวัฒน์ ภักดีวงศ์. (2566). ลักษณะสภาพปัจจุบันและปัญหาการจัดการ ศึกษาในโรงเรียนที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ตามแนวชายแดนภาคเหนือตอนล่าง: บท วิเคราะห์และทดลองนำเสนอความคิด. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 11(4), 1363-1375.

วริษา สิทธิคง, สมใจ สืบเสาะ. (2566). สมรรถนะด้านการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ประจวบคีรีขันธ์ เขต 1. วารสารนวัตกรรมการศึกษาและการวิจัย, 7(1), 99-112.

มานัส พวง บุบ ผา, สมใจ เดช บำรุง, สมบัติ เดช บำรุง. (2564). สมรรถนะ ด้าน เทคโนโลยี สารสนเทศ ของ ผู้ บริหาร สถาน ศึกษา ที่ ส่ง ผล ต่อ การ บริหาร ระบบ สารสนเทศ ของ สถาน ศึกษา สังกัด สำนัก การ ศึกษา กรุงเทพมหานคร. วารสาร ศึกษา ศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร, 19(1), 253-267

ญาณี วัน แอ เลาะ ห์, & อำนวย ทอง โปร่ง. (2023). ภาวะ ผู้นำ เชิง เทคโนโลยี ของ ผู้ บริหาร สถาน ศึกษา ตาม ความ คิดเห็น ของ ข้าราชการ ครู ใน โรงเรียน สังกัด สำนักงาน เขต พื้นที่ การ ศึกษา ประถม ศึกษา ปทุมธานี เขต 2. วารสาร ม จร อุบล ปริทรรศน์, 8(1), 341-354.

อับดล บาซิตร์มูเก็ม, กนกกร ศิริสุข. (2566). การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปัตตานีเขต 1. วารสาร มจร อุบล ปริทรรศน์, 8(2), 331-342.

อดิศักดิ์ นำระนะ. (2565). การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรีเขต 1: การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร สถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรีเขต 1. สิรินธรปริทรรศ์, 23(2), 123-135

ฐิตาพร ธัญญผล, สุทธิวรรณ ตันติรจนาวงศ์, ศจี จิรโรภา. (2566). ภาวะ ผู้นำ ทาง เทคโนโลยี สารสนเทศ และ การ สื่อสาร ของ ผู้ บริหาร สถาน ศึกษา ที่ ส่ง ผล ต่อ การ บริหาร งาน วิชาการ ของ สถาน ศึกษา สังกัด สำนักงาน เขต พื้นที่ การ ศึกษา มัธยมศึกษา สุพรรณบุรี. วารสารจุฬาวิชาการสาร, 10(3), 193-208

รัช นก ไทย รักษ์, สมใจ สืบเสาะ. (2566). การ ใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศ และ การ สื่อสาร เพื่อ การ บริหาร สถาน ศึกษา ใน สังกัด สำนักงาน เขต พื้นที่ การ ศึกษา ประถม ศึกษา ประจวบคีรีขันธ์ เขต 1. วารสารนวัตกรรมการศึกษาและการวิจัย, 7(1), 52-67

พิพัฒน์ พงศ์ ม่วง กล่ำ. (2564). การ ใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศ ใน การ บริหาร งาน วิชาการ ของ ผู้ บริหาร สถาน ศึกษา สังกัด สำนักงาน เขต พื้นที่ การ ศึกษา ประถม ศึกษา สระบุรี เขต 2. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยปทุมธานี, 13(1), 271-282.

ภัทรลดา เกิดกำไร, นันทิยา น้อยจันทร์. (2566). การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศด้านการบริหาร สถานศึกษาโดยใช้ทฤษฎีระบบราชการ. In รายงานการประชุม Graduate School Conference (Vol. 5, No. 1, pp. 959-968).

นิรดา แก้วเขียว. (2565). ภาวะผู้นำยุคดิจิทัลของผู้บริหารการศึกษาที่ส่งผลต่อการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อการบริหารสถานศึกษา. In รายงานการประชุม Graduate School Conference (Vol. 4, No. 1, p. 1117).

Alqahtani, A. Y., & Rajkhan, A. A. (2020). E-learning critical success factors during the covid-19 pandemic: A comprehensive analysis of e-learning managerial perspectives. Education sciences, 10(9), 216

Chege, S. M., Wang, D., & Suntu, S. L. (2020). Impact of information technology innovation on firm performance in Kenya. Information Technology for Development, 26(2), 316-345

Krejcie, R. V. & Morgan, D.W. (1970). Determining sample size for research activity. Educational and Psychological Measurement. 30(3), 607-610.

Shehzadi, S., Nisar, Q. A., Hussain, M. S., Basheer, M. F., Hameed, W. U., & Chaudhry, N. I. (2021). The role of digital learning toward students' satisfaction and

Downloads

เผยแพร่แล้ว

29-08-2024