กระบวนการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดด้วยหลักพุทธธรรมในสถานศึกษา
คำสำคัญ:
กระบวนการป้องกันและแก้ไขปัญหา, ยาเสพติด, หลักพุทธธรรมบทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดด้วยหลักพุทธธรรมในสถานศึกษา พบว่า สถาบันครอบครัว สถานศึกษา หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน ร่วมกันป้องกันและแก้ไขปัญหาด้วยการบูรณาการหลักพุทธธรรมโดยนำหลักหลักพรหมวิหาร 4 ได้แก่ มีเมตตา คือ ความรักความปรารถนาดีมีไมตรีจิต มีความกรุณา คือ ความสงสาร อยากช่วยเหลือ มีมุทิตา คือ ความเบิกบานพลอยยินดี เมื่อเห็นผู้อื่นอยู่ดีมีสุข มีอุเบกขา คือ ความมีใจเป็นกลาง มองตามความเป็นจริง และหลักสังคหวัตถุ 4 ได้แก่ ทาน การให้ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ปิยวาจา เจรจาอ่อนหวานพูดคำที่สุภาพ อัตถจริยา การบำเพ็ญตนให้เป็นคนมีประโยชน์ต่อผู้อื่น สมานัตตา การปฏิบัติตนสม่ำเสมอ ไม่ถือตัว โดยผู้ที่เกี่ยวข้องมีหลักพุทธธรรมทั้ง 2 หลักธรรมจะทำให้เป็นที่พึ่งของเยาวชนหรือคนที่ติดยาเสพติดได้ บูรณาการหลักธรรมในตนเองช่วยเหลือ แก้ไขปัญหาในเยาวชน ผู้ที่ติดยาเสพติดได้อย่างยั่งยืนเมื่อทุกภาคส่วนร่วมมือกันมีสถาบันครอบครัวเป็นสถาบันหลักแห่งแรกในการป้องกัน แก้ไขต่อไป
References
ชนะวงศ์ บุตรคาน. (2555). ผลกระทบของปัญหายาเสพติด. เข้าถึงได้จาก http://www. learners.in.th/blogs/posts/tag/
พระครูบุญเขตโสภณ (วินัย รวิวณฺโณ). (2557). การป้องกันปัญหายาเสพติดของเยาวชนตามแนวทางพุทธศาสนา. (วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาสังคม). บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2543). แก่นแท้ของพระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์การศาสนา.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2545). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน.
วิชัย ตันศิริ. (2551). การปฏิรูปการเมืองไทย มุมมองของการศึกษาเปรียบเทียบ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2545). แนวทางการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา : เพื่อพร้อมรับการประเมินภายนอก. กรุงเทพฯ : สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน).
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด กระทรวงยุติธรรม. (2552). ความรู้พื้นฐานเพื่อการป้องกันยาเสพติดในเยาวชน. กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ์.
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด. (2536). รายงานสถิติเกี่ยวกับยาเสพติด ประจำปี 2534. กรุงเทพฯ : สำนักงาน ป.ป.ส.
สุพัฒน์ ธีรเวช เจริญชัย. (2543). ยาและสิ่งเสพติดให้โทษ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช.
เสน่ห์ ขาวโต. (2558). แก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา: รายงานเขตตรวจราชการที่ 10-13. เข้าถึงได้จาก http://www.strategy9.moe.go.th/doc/pdf1.pdf

Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 Journal of Education and Social Agenda

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
1. เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงพิมพ์กับ Journal of Education and Social Agenda ถือเป็นข้อคิดเห็น และความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
2. บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ใน Journal of Education and Social Agenda ถือเป็นลิขสิทธิ์ของJournal of Education and Social Agenda หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่ง ส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อการกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจาก Journal of Education and Social Agenda ก่อนเท่านั้น