การบูรณาการหลักการคิดสร้างสรรค์สู่การพัฒนาพุทธนวัตกรรมที่ยั่งยืน

ผู้แต่ง

  • พระครูภาวนาธรรมโฆษิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • อนันต์ คติยะจันทร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • นิพิฐพนธ์ วงศ์อนุ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • หัตถพร คำเพชรดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

คำสำคัญ:

การบูรณาการ, การคิดสร้างสรรค์, พุทธนวัตกรรม

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการบูรณาการ และศึกษากระบวนการคิดสร้างสรรค์ ผลการศึกษา พบว่า กระบวนการสอนโดยการบูรณาการนั้น เป็นการสอนจากเรื่องที่ง่ายเข้าใจง่าย ๆ ก่อนเสมอ ใช้การสอนไม่ยาก สอนโดยการใช้ตัวอย่าง และสอนสิ่งที่จำเป็นเสมอ การสอนเพื่อให้เกิดกระบวนการคิดสร้างสรรค์ จึงไม่จำเป็นต้องสอนในสิ่งที่ยังไม่เกิดขึ้น ซึ่งผู้สอนจำเป็นต้องสอนในสิ่งที่มีอยู่แล้ว เพื่อให้ผู้เรียนได้ต่อยอดแนวความคิดเดิมที่มีอยู่ นำไปแก้ปัญหา และเกิดวิธิการใหม่ ๆ แต่การคิดอย่างสร้างสรรค์นั้น ต้องประกอบด้วย การคิดสิ่งที่ถูกต้องมีเหตุผล การคิดที่ปฏิบัติได้จริง การคิดที่มีมูลเหตุมาจากความจริง และความคิดเกิดนวัตกรรมใหม่ ๆ จึงจะเป็นการคิดสร้างสรรค์อย่างยั่งยืนที่แท้จริง

References

กนก จันทร์ทอง. (2560). การสอนสังคมศึกษาในศตวรรษที่ 21. วารสารวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 28(2), 227-241.

กองแผนงาน สำนักงานอธิการบดี. (2565). แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในช่วงแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ระยะที่ 13 (พ.ศ. 2566-2570). (อัดสำเนา).

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2542). ปฏิรูปวิธีคิดแบบไทยต้องคิดให้ครบ 10 มิติ. (อัดสำเนา)

ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (2552). การสอนเด็กให้มีจิตสาธารณะ. กรุงเทพฯ : วีพริ้นท์.

ชาติชาย พิทักษ์ธนาคม. (2560). การสอนกระบวนการคิด. ใน รวมบทความวิชาการ พระพุทธศาสนา ปรัชญา บูรณาการกับศาสตร์สมัยใหม่. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

ดรุณี จำปาทอง. (2560). สภาพการจัดการเรียนการสอนกลุ่มการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในระดับการศึกษาภาคบังคับ. วารสารศึกษาศาสตร์ มสธ, 10(2), 121-135.

ทิศนา แขมมณี. (2544). วิทยาการด้านการคิด. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์บริษัทเดอะมาสเตอร์กรุ๊ป แมเนจเม้นท์ จำกัด.

ธนาธิป พรกุล. (2557). การสอนกระบวนการคิดทฤษฎีและการนำไปใช้. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

ผกา สัตยธรรม. (2550). คุณธรรมของครู. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พจนา ทรัพย์สมาน. (2550). การจัดการเรียนรู้โดยให้ผู้เรียนแสวงหาและค้นพบความรู้ด้วยตนเอง. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พระครูโสภณพุทธิศาสตร์. (2558). หลักการและปรัชญาการศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2541). พุทธวิธีในการสอน. กรุงเทพฯ : บริษัทสหธรรมิก จำกัด.

พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2543). พัฒนาคุณภาพชีวิตด้วยจิตวิทยาแบบยั่งยืน. กรุงเทพฯ : มูลนิธิ พุทธธรรม.

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. (2542, 19 สิงหาคม). ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 116 ตอนที่ 74 ก. หน้า 1-26.

พระสันต์ทัศน์ คมฺภีรปญฺโญ และชัยรัตน์ ทองสุข. (2564). พุทธศาสนากับนวัตกรรมและการวิจัย. (รายงานการวิจัย). มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย : วิทยาลัยสงฆ์พุทธชินราช.

พิทูร มลิวัลย์ และไสว มาลาทอง. (2533). ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์การศาสนา.

พิมพันธ์ เดชะคุปต์. (2549). ทักษะ 5 C เพื่อการพัฒนาหน่วยการเรียนรู้และการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

มกราพันธุ์ จูฑะรสก. (2556). การคิดอย่างเป็นระบบ : การประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน. นนทบุรี : โครงการสวัสดิการวิชาการ สถาบันพระบรมราชชนก.

ลักขณา สริวัฒน์. (2549). การคิด (Thinking). กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.

สุนันท์ สีพาย. (2562). บทบาทของครูไทยในการศึกษา 4.0. วารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 25(2), 3-14.

อัชรา เอิบสุขสิริ. (2559). จิตวิทยาสำหรับครู. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

26-12-2024

How to Cite

พระครูภาวนาธรรมโฆษิต, คติยะจันทร์ อ., วงศ์อนุ น. ., & คำเพชรดี ห. . (2024). การบูรณาการหลักการคิดสร้างสรรค์สู่การพัฒนาพุทธนวัตกรรมที่ยั่งยืน. Journal of Education and Social Agenda, 1(4), 43–60. สืบค้น จาก https://so15.tci-thaijo.org/index.php/ACJJ/article/view/1155

ฉบับ

บท

บทความวิชาการ