ผู้บริหาร: สมรรถนะการบริหารจัดการองค์กรสู่ความเป็นเลิศ
คำสำคัญ:
การบริหารจัดการ, ความเป็นเลิศ, ผู้บริหาร, สมรรถนะบทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มุ่งศึกษาสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงในปัจจุบันเป็นตัวเร่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเรื่องต่าง ๆ เช่น การเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ และเทคโนโลยีดิจิทัล เป็นต้น ผู้บริหารที่จะประสบความสำเร็จในการบริหารองค์กรได้ ต้องให้ความสนใจทั้งประสิทธิภาพภายในและประสิทธิภาพภายนอกขององค์กรควบคู่กันไป ที่เปลี่ยนแปลงและกดดันองค์กรอยู่ตลอดเวลา โดยผู้บริหารควรมีสมรรถนะความสามารถในด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1) สมรรถนะความสามารถในการสื่อสาร 2) สมรรถนะความสามารถในการวางแผนและการบริหาร 3) สมรรถนะความสามารถในการทำงานเป็นทีม 4) สมรรถนะความสามารถในการทำงานเชิงยุทธศาสตร์ 5) สมรรถนะความสามารถในการตระหนักรู้ถึงความเชื่อมโยงกับสังคมโลก และ 6) สมรรถนะความสามารถในการบริหารจัดการตนเอง เพื่อให้องค์กรประสบผลสำเร็จไปสู่ความเป็นเลิศในด้านต่าง ๆ
References
กรุงเทพธุรกิจ. (2565). ปี 2565 เมื่อโลกก้าวเข้าสู่ยุค Digital Transformation 2.0. เข้าถึงได้จาก https://www.bangkokbiznews.com/columnist/980464.
ชูชัย สมิทธิไกร. (2556). การสรรหาคัดเลือกและการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร. กรุงเทพฯ : วีพริ้นท์ (1991).
ดุจเดือน พิงคยางกูล. (2555). การพัฒนาบุคลากรตามกรอบสมรรถนะหลักของศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ทวีศักดิ์ สูทกวาทิน. (2558). การจัดการสมัยใหม่ในคริสต์ศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : ทีพีเอ็น เพรส.
พยัต วุฒิรงค์. (2555). การจัดการนวัตกรรม จากแนวคิดสู่การปฏิบัติที่เป็นเลิศ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว. วชิรเมธี). (2550). คนสำราญงานสำเร็จ. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พลับลิชชิ่ง.
พันธุ์พรหม รังสิธารานนท์. (2558). การพัฒนาสมรรถนะพนักงานฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ในบริษัทกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วน. ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
วิลัยภรณ์ แย้มสวน. (2552). สมรรถนะในการปฏิบัติงานและความต้องการพัฒนาบุคลากรผู้ปฏิบัติงานในสังกัดสำนักงานเทศบาลจังหวัดสุโขทัย. (วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารและพัฒนาประชาคมเมืองและชนบท). บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์.
ศิริ ถีอาสา. (2557). เทคนิคการจัดการคุณภาพแนวใหม่ : แนวคิด หลักการสู่การบริหารจัดการ คุณภาพการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 2). มหาสารคาม : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
Hellriegel, D.; Jackson, S. E. & Slocum, J. W. (2005). Management: A Competency Based Approach. (10th ed.). Singapore : Thomson South Western.

Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 Journal of Education and Social Agenda

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
1. เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงพิมพ์กับ Journal of Education and Social Agenda ถือเป็นข้อคิดเห็น และความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
2. บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ใน Journal of Education and Social Agenda ถือเป็นลิขสิทธิ์ของJournal of Education and Social Agenda หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่ง ส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อการกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจาก Journal of Education and Social Agenda ก่อนเท่านั้น