การวิเคราะห์บรรณมิติการวิจัยการท่องเที่ยวจังหวัดนครราชสีมา ในระบบฐานข้อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์กลางของประเทศไทย

Main Article Content

สุเทพ ยนต์พิมาย
ศศิรินทร์ กระสินธุ์หอม
พันธสรณ์ ธรรมะกิตติกร
สุธาสินี โพธิ์ชาธาร
พิชิต พระพินิจ

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะทางบรรณมิติของงานวิจัยด้านการท่องเที่ยวจังหวัดนครราชสีมาในช่วง พ.ศ. 2553-2566 ที่ตีพิมพ์ในระบบฐานข้อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์กลางของประเทศไทย (Thai Journals Online database: ThaiJO) โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา เพื่อวิเคราะห์แนวโน้มและวางแผนการวิจัยในอนาคต ผลการศึกษาพบว่า มีงานวิจัยทั้งหมด 105 เรื่อง โดยช่วงเวลาที่มีการเผยแพร่มากที่สุด คือ พ.ศ. 2564 จำนวน 25 เรื่อง สถาบันที่มีการเผยแพร่มากที่สุด คือ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา และศาสตร์หลักที่มีการศึกษา คือ ศาสตร์ด้านการท่องเที่ยว ผลการศึกษาแสดงให้เห็นถึงแนวโน้มของงานวิจัยด้านการท่องเที่ยวในจังหวัดนครราชสีมาที่มีเพิ่มขึ้น ข้อเสนอแนะจากบทความ ควรมีการวางแผนการวิจัยอย่างเป็นระบบ วิจัยแบบบูรณาการ และใช้ประโยชน์จากเครื่องมือการวิเคราะห์บรรณมิติ เพื่อเข้าใจภาพรวมงานวิจัยได้ดียิ่งขึ้น ซึ่งจะนําไปสู่การวางแผนการวิจัยอย่างเป็นระบบ และเพื่อให้เกิดงานวิจัยที่มีความหลากหลาย ตอบสนองความต้องการของจังหวัด อีกทั้งจังหวัดนครราชสีมาเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่กว้าง จำนวนแหล่งท่องเที่ยวมาก และแหล่งท่องเที่ยวหลายจุดที่ยังไม่ต่อเนื่องกัน การวิจัยทางด้านการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานเกี่ยวกับการท่องเที่ยวยังมีเพียง 4 งาน จากงานวิจัยทั้งหมด 105 งาน คิดเป็น 3.81% จึงเป็นช่องว่างทางการวิจัยที่สำคัญที่นักวิจัยสามารถทำงานวิจัยทางด้านการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานเกี่ยวกับการท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นได้

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กฤตยา เตยโพธิ์ และ พนัส โพธิบัติ. (2561). วัฒนธรรมโฮมสเตย์: การพัฒนารูปแบบการจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชน อำเภอวังน้ำเขียว จังหวัดนครราชสีมา. วารสารวิชาการแพรวากาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์, 5(1), 20-39.

กานต์นภัส ช้ําเกตุ, อัญชลี หิรัญแพทย์, ทมนี สุขใส และ รัชนีวรรณ สุจริต. (2565). การวิเคราะห์บรรณมิติเกษตรอินทรีย์อย่างยั่งยืนในประเทศไทย. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต, 10(3), 283-292.

จังหวัดนครราชสีมา. (2566). แผนพัฒนาจังหวัดนครราชสีมา ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566 - 2570)

ฉบับประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568. สืบค้นจากhttps://www2.nakhonratchasima.go.th/files/com_ebook_strategy/2023-11_86d83e18dd2fc32.pdf

จุฑาทิพย์ จันทร์ลุน. (2566). การวิเคราะห์บรรณมิติผลงานที่ตีพิมพ์เผยแพร่เกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในสาขาบรรณรักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ของประเทศในเอเชีย. วารสารวิจัย สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ, 16(1), 37-48.

นามโพธิ์ชัย และ ริทธิรอด. (2557). แนวทางการเพิ่มจำนวนผู้เข้าพัก เอ เฮ้าส์ โฮม สเตย์ อำเภอปากช่อง

จังหวัดนครราชสีมา. วารสารวิจัย มข.มส., 2(3), 52-59.

ศราวุฒิ ใจอดทน. (2560). แนวทางการพัฒนากายภาพแหล่งทรัพยากรท่องเที่ยวทางธรรมชาติ: กรณีศึกษาป่าชุมชนเขาสามสิบส่างและเขาเขียว. วารสารวิชาการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล, 27, 109-123.

ศาสตรา มาพร, จิรารัตน์ ภูสีฤทธิ์, พักตร์วิไล รุ่งวิสัย, ปัญญาวัฒน์ อาษาภา และ ชลธี โพธิ์ทอง. (2566).

การวิเคราะห์บรรณมิติของวารสารไทยในฐานข้อมูล Scopus. วารสารห้องสมุด, 67(1), 177-198.

ศิรินันทน์ พงษ์นิรันดร, โอชัญญา บัวธรรม และ ชัชชญา ยอดสุวรรณ. (2559). แนวทางในการพัฒนาศักยภาพการจัดการท่องเที่ยวอำเภอวังน้ำเขียว จังหวัดนครราชสีมา. วารสารวิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ มข., 9(1), 235-259.

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. (2564). ThaiJO. สืบค้นจาก https://www.tcithaijo.org/index.php/about/Thaijo

สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2564). แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับที่ 3

(พ.ศ. 2566 – 2570). กรุงเทพฯ: สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา.

สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2566). แผนกลยุทธ์เพื่อการขับเคลื่อนการท่องเที่ยวสีขาวภายใต้โมเดลเศรษฐกิจ BCG (พ.ศ. 2566 - 2570) (สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา, กรุงเทพฯ). สืบค้นจาก https://www.mots.go.th/images/v2022_1683099938532QkNHLnBkZg==.pdf

Ellegaard, O., & Wallin, J. A. (2015). The bibliometric analysis of scholarly production: How great is the impact?. Scientometrics, 105(3), 1809-1831.

Hotrawaisaya, C., & Chumkad, K. (2021). Research direction in college of logistics and supply chain Suan Sunandha Rajabhat University. Mahidol R2R e-Journal, 8(1), 64-73.

Kaewboonma, N., & Lertkrai, P. (2023). Rajamangala University of Technology Srivijaya research trends: Bibliometric and visualized analysis. Rajamangala University of Technology Srivijaya Research Journal, 16(1), 90-102.

Leechon, Y., & Kabmala, M. (2023). Bibliometric Analysis of Researches on Medicinal Plants for Cosmetics. วารสารบรรณศาสตร์ มศว, 16(1), 45-53.

Page, S. J. (2009). Transport and tourism: global perspectives. Pearson Education.

Pitithanabodee, N. (2021). Web citation of research articles on coronavirus disease (COVID-19) published in Thai journals: A bibliometric analysis. TLA Bulletin, 65(1), 2-13.

Rodrigue, J. P. (2020). The geography of transport systems. Routledge. Retrieved from https://transportgeography.org

Sanok, M., & Wathanti, S. (2023). Bibliometric analysis of research publications at Rajamangala University of Technology Isan: Trends and patterns. Journal of Information Science Research and Practice, 41(4), 59-75.

Sawangkul, S., Pinitpuwadol, W., & Sakiyalak, D. (2020). การศึกษาเปรียบเทียบค่าบรรณมิติระหว่างฐานข้อมูล

Scopus และ Google Scholar ของอาจารย์ในภาควิชาจักษุวิทยา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล.

Thai Journal of Ophthalmology, 34(1), 30-38.

Sirirak, K. (2021). Analysis of Walailak Journal of Science and Technology indexed in Scopus database between 2012-2020: A Bibliometric Analysis. วารสารห้องสมุด, 65(2), 137-154.

Srisawad, S. (2018). Association of Research Collaboration and Bibliometrics Data with Citation Impact. วารสารสารสนเทศศาสตร์, 35(3), 154-170.

Thanuskodi, S. (2011). Bibliometric analysis of the journal Library Philosophy and Practice from 2005-2009 (Library Philosophy and Practice). Retrieved from http://digitalcommons.unl.edu/libphilprac/663

Thai National Research Repository. (2023). ค้นหางานวิจัย. สืบค้นเมื่อ 17 มีนาคม 2566, จาก https://tnrr.nriis.go.th/#/services/output-report?searchAll=true&searchTitle=false&searchAuthor=false&searchDepartment=false&searchKeyword=false&searchDOI=false&searchAbstract=false&keywords=การท่องเที่ยว&page=1&pageSize=10&years=&docTypes=&fileTypes=

Tseng, Y. Y., Yue, W. L., & Taylor, M. A. (2005). The role of transportation in logistics chain.

Eastern Asia Society for Transportation Studies, 5, 1657-1672.

UNWTO. (2020). Transport-related CO2 Emissions of the Tourism Sector. Madrid.

van Eck, N. J., & Waltman, L. (2010). Software survey: VOSviewer, a computer program for bibliometric mapping. Scientometrics, 84(2), 523-538.

Youngjeen, S., & Sirirak, K. (2023). Analysis of international publications in Scopus Quartile 1 between 2016-2021 of Walailak University, Thailand. TLA Bulletin, 67(1), 60-78.

Zhang, A., Zhang, Y., & Zhao, R. (2009). Tourism supply chain management: A new research agenda. In2009IEEE ICMIT (pp.561-564).IEEE.