ปัจจัยที่มีผลต่อการรับรู้แบรนด์ของร้านมิสเตอร์ดี.ไอ.วายในประเทศไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามที่มีต่อการความผูกพันกับลูกค้า ทัศนคติที่มีต่อแบรนด์ การเปิดรับแบรนด์ การสื่อสารแบบปากต่อปากทางอิเล็กทรอนิกส์ และการรับรู้แบรนด์ 2) เพื่อศึกษาอิทธิพลของการความผูกพันกับลูกค้า ทัศนคติที่มีต่อแบรนด์ การเปิดรับแบรนด์ ที่ส่งผลต่อการสื่อสารแบบปากต่อปากทางอิเล็กทรอนิกส์ 3) เพื่อศึกษาอิทธิพลของการสื่อสารแบบปากต่อปากทางอิเล็กทรอนิกส์ ที่ส่งผลต่อการรับรู้แบรนด์ ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้ข้อมูลปฐมภูมิ กลุ่มตัวอย่างเป็นลูกค้าของร้านมิสเตอร์ดี.ไอ.วาย. ซึ่งมีประสบการณ์ในการเลือกซื้อสินค้าและใช้บริการของทางร้าน จำนวน 400 คน ได้มาจากการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงและการสุ่มตัวอย่างโดยใช้แบบสะดวก เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์เพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอย
ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามที่มีต่อการความผูกพันกับลูกค้า ทัศนคติที่มีต่อแบรนด์ การเปิดรับแบรนด์ การสื่อสารแบบปากต่อปากทางอิเล็กทรอนิกส์ และการรับรู้แบรนด์อยู่ในระดับมากที่สุด 2) ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า การความผูกพันกับลูกค้า ทัศนคติที่มีต่อแบรนด์ การเปิดรับแบรนด์ มีอิทธิพลเชิงบวกต่อการสื่อสารแบบปากต่อปากทางอิเล็กทรอนิกส์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3)การสื่อสารแบบปากต่อปากทางอิเล็กทรอนิกส์ มีอิทธิพลเชิงบวกต่อการรับรู้แบรนด์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความนี้ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ตีพิมพ์ใน วารสารนวัตกรรมการจัดการและบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ถือเป็นความคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง กองบรรณาธิการวารสารไม่มีส่วนในความคิดเห็นและความรับผิดชอบใดที่เกี่ยวข้องกับบทความดังกล่าว
References
Aaker. (1991). Managing brand equity: Capitalizing on the value of a brand name. New York, NY: The
Free Press
Assael. (1998). . Consumer Behavior and Marketing A ction. (6th ed.).Cincinnati. OH: South –
Western College Publishing: 218.
Cochran. (1977). Sampling Techniques. 3rd Edition, John Wiley & Sons, New York.
Fisher-Buttinger & Chichester. (2008). Connective branding: Building brand equity in a demanding
world. West Sussex, UK: John Wiley & Sons.
Hollebeek. (2011). Demystifying customer brand engagement: Exploring the loyalty nexus, Journal of
Marketing Management, 27:7-8, 785-807
Kiecker & Cowles. (2002). Interpersonal communication and personal influence on the Internet: A
framework for examining online word-of-mouth. Journal of Euromarketing, 11(2), 71-88.
Kietzmann & Canhoto. (2013). Bittersweet! Understanding and Managing Electronic Word of Mouth. Journal
of Public Affairs, 13(2), 146-159.
Klapper. (1960). The effects of mass communication. Free Press.
Kotler, P., & Keller, K. L. (2009). Marketing Management eBook: Pearson Higher Ed.
Kudeshia & Kumar. (2017). Social eWOM: does it affect the brand attitude and purchase intention of
brands?," Management Research Review, Emerald Group Publishing Limited, vol. 40(3), pages 310-
, March.
McCombs & Becker. (1979). Using Mass Communication Theory, Englewood cliffs : N.J. Prentice Hall.
McEwen. (2005). Married to the brand: Why consumers bond with some brands for life, NY: Gallup
Press.
Mollen & Wilson. (2010). Engagement, Telepresence and Interactivity in Online Consumer
Experience: Reconciling Scholastic and Managerial Perspectives. Journal of Business
Research, 63, 919-925.https://doi.org/10.1016/j.jbusres.2009.05.014
Morgan & Hunt. (1970). Determining sample size for research activities. Educational and
Psychological Measurement, 30(3), 607-610.
Norman L. Munn. (1971). . Introduction To Psychology. Boston: Hougston Miffin Company
Patterson. (2006). An Integrative Definition of Leadership. International Journal of Leadership
Studies, 1, 6-66.
Pollar & Mittal. (1993). Here’s the Beef: Factors, Determinants, and Segments in Consumer Criticism
of Advertising. Journal of Marketing, 57, 99-114.
https://doi.org/10.1177/002224299305700307
Richins & Root-Shaffer. (1998). The role of evolvement and opinion leadership in consumer word-of-
mouth: An implicit model made explicit.Advances in consumer research, 15(1), 32-36.
Siew Mung Tan. (2021). จับประเด็น MR. D.I.Y. ทำไมกล้าทุ่มงบ 2,000 ล้านบาท ผุดสาขาใหม่ 195 แห่ง. สืบค้น
กุมภาพันธ์ 2567, จาก https://www.marketingoops.com/news/biz-news/mr-d-i-y-invest-new-branches/
Thorson & Rodgers. (2006). Relationships Between Blogs as EWOM and Interactivity, Perceived Interactivity,
and Parasocial Interaction. Journal of Interactive Advertising, 6(2), 5–44. https://doi.org/10.1080/15252019.2006.10722117
กัณฐิกา จิตติจรุงลาภ. (2562). การสื่อสารแบบปากต่อปากอิเล็กทรอนิกส์ต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้าออนไลน์. สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
กิตติพงศ์ อิ่มประคองศิลป์ และ นภณัฐ ชมพู. (2564). แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวขšองกับการมีส่วนร่วมและความผูกพัน
(Engagement). สืบค้น 10 กุมภาพันธ์ 2567, จาก https://dusitpoll.dusit.ac.th/KB/2021/583/
กิตติวัฒน์ คล้ายนิล. (2565). ทัศนคติและพฤติกรรมผู้บริโภคที่ส่งผลต่อความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางและ
ผลิตภัณฑ์ดูแลผิว กลุ่ม Green beauty ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. (ค้นคว้าอิสระ บริหารธุรกิจ
มหาบัณฑิต).มหาวิทยาลัยมหิดล
กรชนก บุญสู่ทรัพย์ไพศาล. (2563). การศึกษาการเปิดรับข้อมูลข่าวสาร การตัดสินใจซื้อ และพฤติกรรมเกี่ยวกับเสื้อผ้าแฟชั่น
ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร กรณีศึกษา Hamburger Studio. (การค้นคว้าอิสระนิเทศศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารธุรกิจบันเทิงและการผลิต). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. (2566). ข้อมูลทั่วไปด้านประชากร. สืบค้น 19 มีนาคม 2567, จาก
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า. (2566). กรมพัฒนาธุรกิจฯ เผย ‘ที่สุดแห่งปี 2566 ด้านการลงทุนในประเทศไทย’ นักลงทุน
ไทยแห่จัดตั้งธุรกิจใหม่ ทะลุ 8.5 หมื่น. สืบค้น 7 กุมภาพันธ์ 2567, จากhttps://www.dbd.go.th/news/09230167
จรัล รัศมิทรัพย์. (2557). อิทธิพลขององค์ประกอบคุณค่าตราสินค้าจากมุมมองของลูกค้าที่ส่งผลต่อความไว้วางใจและ
ตั้งใจเลือกใช้บริการกับ บมจ.ธนาคารกรุงไทย ในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล. ค้นคว้าอิสระ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
ชานันต์ รัตนโชติ. (2552). ประโยชน์ในการรับข่าวสารจากหนังสือพิมพ์ออนไลน์ของประชาชนในกรุงเทพมหานคร.
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
ชนม์ชุดา วัฒนากรและบุฎกา ปัณฑุรอัมพร. (2563). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของกัญชา-
กัญชงของกลุ่มผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
เซ่าหยี แซ๋ฟัง. (2565). การตลาดเชิงสัมพันธ์ เพื่อสร้างความภักดีของลูกค้าในยุคดิจิทัล. วารสารการจัดการและ
การพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
ณัฐกานต์ ทองมวน. (2558). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความจงรักภักดีของผู้บริโภคที่ใช้บริการร้าน Coffee café ใน
กรุงเทพมหานคร ได้แก่ E – Word of Mouth และ ทัศนคติ. การค้นคว้าอิสระ(บธ.ม.)บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
ดารณี พานทองพาลุสุข. (2542). ทฤษฎีการจูงใจ. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง
ดวงกมล สุวรรณธีระกิจ. (2558). . ศึกษาพฤติกรรมการเปิดรับสื่อ และความพึงพอใจของนิสิตระดับปริญญาตรีภายใน
สถานศึกษาที่มีต่อชุดสื่อประชาสัมพันธ์ ส านักประชาสัมพันธ์และสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต เทคโนโลยีการเรียนรู้และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ถวิล ธาราโภชน์. (2532). จิตวิทยาสังคม. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
บุญฐเนตร โถวสกุล และวสันต์ สกุลกิจกาญจน์. (2562). ทัศนคติการบอกต่อและการรับรู้ตราสินค้าที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจ
ซื้อสินค้าของผู้บริโภคผ่านแอปพลิเคชั่นShopee ในเขตกรุงเทพมหานคร. สืบค้นวันที่ 1 มีนาคม 2566. จาก https://ir.swu.ac.th/xmlui/bitstream/handle/123456789/19460/Bas-Con-BoontanetT.pdf?sequence=1&isAllowed=y
บุริม โอทกานนท์. (2554). โอกาสของธนาคารธนชาต.จุฬาลงกรณ์วารสาร.(23):91
ปาริษา จันเพ็ชร์. (2565). ทัศนคติของผู้บริโภคต่อตราสินค้าที่มีบรรจุภัณฑ์เพื่อความยั่งยืน ที่ส่งผลต่อความตั้งใจซื้อของ
ผู้บริโภค. (ค้นคว้าอิสระ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต).มหาวิทยาลัยมหิดล
ปรีดี นุกุลสมปรารถนา. (2563). บันไดสู่การสร้าง Emotional Brand ขั้นสุด (ออนไลน์). สืบค้น
กุมภาพันธ์ 2567, จาก https://www.popticles.com/branding/emotional-brand-ladder/
ประภาเพ็ญ สุวรรณ. (2520). พฤติกรรมศาสตร์และพฤติกรรมทางสุขภาพการศึกษา. กรงเทพฯ : เจ้าพระยาการพิมพ์
พิชญา กอกอบลาภ. (2563). ทัศนคติและคุณค่าตราสินค้าที่มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจใช้ไลน์ทีวีของผู้บริโภคในเขต
กรุงเทพมหานคร. วารสารบริหารธุรกิจศรีนครินทร์วิโรฒ
พภัสสรณ์ แช่มศักดิ์สิทธิ์. (2563). การสื่อสารแบบปากต่อปากอิเล็กทรอนิกส์ส่วนประสมทางการตลาดในมุมมองผู้บริโภค และ
คุณค่าตราสินค้าที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อคอนโดมิเนียมระดับกลางบริษัท พร็อพเพอร์ตี้เพอร์เฟค จำกัด(มหาชน)ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารบริหารธุรกิจศรีนครินทร์วิโรฒ
พรกมล รัตนาภรณ์. (2542). . รูปแบบการดำเนินชีวิต พฤติกรรมการเปิดรับสื่อและพฤติกรรมการบริโภคสินค้าของวัยรุ่นใน
จังหวัดเชียงใหม่. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พรพรรณ พิทยบำรุง. (2562). การศึกษาคุณค่าตราสินค้าที่ส่งผลต่อทัศนคติ และพฤติกรรมการบอกต่อ (World of Mouth)
ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร : กรณีศึกษาแบรนด์แอปเปิล (Apple). [สารนิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยมหิดล.
พิลาสลักษณ์ อนันตธนโชคดี. (2560). การรับรู้ของลูกค้าต่อภาพลักษณ์แบรนด์ดรีมมี แวลลีย์. (บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
สาขาวิชาการตลาด) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
มกราภา วงษ์ชัย. (2560). การรับรู้คุณค่าตราสินค้าและความชื่นชอบในตราสินค้าที่ส่งผลต่อความตั้งใจซื้อเครื่องสำอางแบรนด์
เกาหลีของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระนิเทศศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารธุรกิจบันเทิงและการผลิต. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
ศูนย์วิจัยกรุงศรี. (2564). แนวโน้มธุรกิจและอุตสาหกรรมไทย ปี 2564-2566. สืบค้น 7 กุมภาพันธ์ 2567, จาก
https://www.krungsri.com/th/research/industry/summary-outlook/industry-summary-
outlook-2021-2023
ศุภณัฐ วงศ์ไตร. (2559). คุณค่าตราสินค้าและการตัดสินใจซื้อสมาร์ทโฟนตราซัมซุงของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร.
วารสารบริหารธุรกิจศรีนครินทร์วิโรฒ, 7(1), 135-152.
ศรัณยพงษ์ เที่ยงธรรม. (2553).การใช้ประโยชน์ และการรับรู้ความเสี่ยงที่ส่งผลต่อความพึงพอใจ ความเชื่อถือไว้วางใจ
และความภักดีต่อ K–Mobile Banking Plus ของผู้ใช้งานในกรุงเทพมหานคร. ค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจ
มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
สรรชัย เจิมประสาทสิทธิ์. (2561). อิทธิพลของการสื่อสารแบบปากต่อปากบนอินเทอร์เน็ตกับภาพลักษณ์ตราสินค้า ทัศนคติ
ต่อตราสินค้า และความตั้งใจในการใช้บริการ: กรณีศึกษาการใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ในประเทศไทย. สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สุวัฒน์ ฉิมะสังคนันท์. (2560). การสร้างการรับรู้ภาพลักษณ์ และอัตลักษณ์ที่มีต่อส้มโอจังหวัดนครปฐม. วารสารดุษฎี
บัณฑิตทางสังคมศาสตร์, 7(1), 203-219.
เสกสรรค์ โอสถิตย์พร. (2564). การรับรู้ภาพลักษณ์ตราสินค้าระหว่างรถยนต์ยี่ห้อโตโยต้าและฮอนด้าของผู้บริโภคใน
จังหวัดเชียงใหม่. วารสารมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อารีรัตน์ ประวีณ. (2563). ผลกระทบของการสื่อสารทางการตลาดด้วยสื่อสังคมออนไลน์ ความผูกพันของลูกค้า และ
ความภักดีในตราสินค้าที่มีต่อความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางของเจนเนอเรชันวายในประเทศไทย. วารสารวิชาการบริหารธุกิจ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี
อดุลย์ จาตุรงคกุล. (2543). กลยุทธ์การตลาด. กรุงเทพ:สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
อุษนันท์ สามา. (2563). ความผูกพันของผู้ใช้บริการบริษัทขนส่งเอกชน Kerry Express ในเขตกรุงเทพมหานคร
(Customer Engagement of Kerry Express in Bangkok). (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต).
มหาวิทยาลัยมหิดล. สืบค้นจาก https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/3799