การรักษาสุขภาพของผู้สูงวัยในการใช้ Social Media ด้วยหลักของไตรลักษณ์

Main Article Content

พระภิญโญ ปญฺญาทีโป (เอี่ยมสุวรรณ)

บทคัดย่อ

ผู้สูงอายุสิ่งที่ตามมาทางกาย หรือสังขาร คือ ความเจ็บป่วย ชรา นำมาซึ่งโรคภัยไข้เจ็บต่าง ๆ เมื่อคนเรามีอายุมากขึ้น จะมีความเสี่ยงต่อ 3 กลุ่มโรควัยชรา ได้แก่ 1) กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่ โรคกลุ่มหลอดเลือดหัวใจ หลอดเลือดสมอง โรคไตเรื้อรัง โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มะเร็ง จากข้อมูลปัจจุบันคนไทยราว 55% มีปัจจัยเสี่ยงของโรคเหล่านี้ ทำให้คนไทยเกินครึ่งเสียชีวิตจากโรคกลุ่มนี้ 2) โรคสมองเสื่อม ซึ่งมากับคนอายุยืน 3) โรคซึมเศร้า ซึ่งตามมากับภาวะสมองเสื่อมและโรคเรื้อรัง และนำไปสู่ภาวะซึมเศร้า ซึ่งโรคซึมเศร้านี้เอง เป็นภาวะทาง “จิต” หรือ “ใจ” ซึ่งมาพร้อมกับการไม่ทำความเข้าใจในธรรมนิยาม หรือธรรมชาติของทุกสรรพสิ่ง อย่างถ่องแท้ ซึ่งก็คือหลักไตรลักษณ์ โดยการยอมรับความจริงและแก้ไขไปตามเหตุปัจจัย มองให้เห็นธรรมดาว่ามันเป็นเช่นนั้นเอง จะได้รู้จักปลง ไม่ยึดมั่นถือมั่นเกินกว่าเหตุ เมื่อไม่ยึดมั่นถือมั่นเกินกว่าเหตุ

Article Details

How to Cite
ปญฺญาทีโป (เอี่ยมสุวรรณ) พ. . (2024). การรักษาสุขภาพของผู้สูงวัยในการใช้ Social Media ด้วยหลักของไตรลักษณ์. วารสาร ปัญญาลิขิต, 3(1), 38–48. สืบค้น จาก https://so15.tci-thaijo.org/index.php/PYJ/article/view/884
บท
บทความวิชาการ

References

เสถียร์พงษ์ วรรณปก. (2561). “ไตรลักษณ์” คิดแบบรู้เท่าทันธรรมดา ตามหลักศาสนาพุทธ. สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม 2565, จาก https://www.matichonweekly.com

แม่ชีสุภาพ รักษ์ประสูติ. (2560). การศึกษาแนวทางการสร้างความสุขของผู้สูงอายุตามวิถีพุทธ. วารสาร มจร การพัฒนาสังคม, 2(1), 74-85.

จรัสวรรณ เทียนประภาส และพัชรี ตันศิริ. (2533). การพยาบาลผู้สูงอายุ. กรุงเทพฯ: รุ่งเรืองธรรม.

ชมพูนุท พรหมภักดิ์. (2556). การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุของประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา.

ธนาภรณ์ พรมสุวรรณ. (2561). รับมือสังคมสูงวัย. สืบค้นเมื่อ 3 มกราคม 2566, จาก https://www.thaihealth.or.th

นิดา ตั้งวินิต. (2559). การบูรณาการหลักพุทธธรรมกับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมในผู้สูงอายุ. วารสารสวนปรุง, 32(2), 48-65.

ประเวศ วะสี. (2561). พัฒนาสังคมสูงวัยกับโลกดิจิทัล. สืบค้นเมื่อ 19 มกราคม 2566, จาก https://www.thaihealth.or.th

ปิ่น มุทุกันต์. (2514). แนวสอนธรรมะหลักสูตรนักธรรมชั้นตรี. กรุงเทพฯ: คลังวิทยา.

พระเทพดิลก (ระแบบ ฐิตญาโณ). (2546). ธรรมปริทรรศน์ 2. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: มหากุฎราชวิทยาลัย.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

วรรณ จงวิไลเกษม. (2564). โซเชียลมีเดียสื่อยุคดิจิทัล ประโยชน์มีมากแต่โทษก็ไม่น้อย. สืบค้นเมื่อ 19 มกราคม 2566, จาก https://www.thaihealth.or.th/โซเชียลมีเดียสื่อยุคดิ/

วิไลวรรณ ทองเจริญ. (2545). หลักการพยาบาลผู้สูงอายุ. กรุงเทพฯ: บุญศิริ.

วีรณัฐ โรจนประภา. (2565). วิถีใหม่ “ผู้สูงอายุ” ยุค 4.0 ส่งความสุขแบบ “ออนไลน์” เชื่อมสัมพันธ์ครอบครัว. สืบค้นเมื่อ 19 มกราคม 2566, จาก https://www.matichon.co.th

ศูนย์เวชศาสตร์อายุรวัฒน์. (2566). SOCIAL MEDIA ผู้สูงวัยรู้ให้ทันใช้ให้พอดีออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 3 มกราคม 2566, จาก https://www.bangkokhospital.com

อุดมพร ชั้นไพบูลย์. (2561). การประยุกต์หลักไตรสิกขาเพื่อความสมดุลในชีวิตสำหรับผู้สูงวัย. วารสารรามคำแหง ฉบับมนุษยศาสตร์, 35 (1), 41-64.