ความรุนแรง: สติปัฏฐาน 4

Main Article Content

พระทัศพงษ์ ฐานวุโธ (ลัดดากูล)

บทคัดย่อ

ความรุนแรง เป็นพฤติกรรม หรือการกระทำใดๆ ที่เป็นการล่วงละเมิดสิทธิเสรีภาพ ของผู้อื่นกลุ่มบุคคล หรือชุมชนทั้งทางร่างกาย วาจา หรือใจ โดยใช้กำลังบังคับขู่เข็ญ ทำร้ายร่างกายทุบตี เป็นผลให้เกิดความทุกข์ทรมานทั้งทางร่างกายและจิตใจ หรือก่อให้เกิดความเสียหาย ทางทรัพย์สินทั้งของตนเองและผู้อื่น หรือเป็นการยับยั้ง หรือปิดกั้นความเจริญ ทำให้สูญเสียสิทธิบางประการ การระงับความรุนแรง ความโกรธ ความโมโห ต้องใช้หลักสติปัฏฐาน 4 โดยการพิจารณากาย เวนทนา (อารมณ์) จิต และธรรม ให้ทันกับสถานการณ์ในปัจจุบัน หรือภาวะอารมณ์ที่เกิดขึ้นในขณะนั้น ใช้สติหาวิธีและแนวทางระงับความโกรธ ความโมโห เพื่อลดระดับความรุนแรงที่มีต่อตนเองและผู้อื่น โดยจัดการกับความโกรธ ความโมโหในทางสร้างสรรค์และเป็นประโยชน์ต่อตนเอง

Article Details

How to Cite
ฐานวุโธ (ลัดดากูล) พ. (2022). ความรุนแรง: สติปัฏฐาน 4 . วารสาร ปัญญาลิขิต, 1(1), 35–44. สืบค้น จาก https://so15.tci-thaijo.org/index.php/PYJ/article/view/863
บท
บทความวิชาการ

References

กนกรัตน์ สุขะตุงคะ. (2565). ความโกรธ. วารสารจิตวิทยาคลินิก, 24(1), 23 –28.

กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2565).ความโกรธ. สืบค้นเมื่อ 9 ตุลาคม 2565, จาก htt://www.bangkok. mentalhealth.com

จิระเดช เกตุประยูร. (2565). วิธีระงับความรุนแรงในพระพุทธศาสนาเถรวาท (รายงานการวิจัย). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์.

ชลิดาภรณ์ ส่งสัมพันธ์. (2565). เรื่องราวความรุนแรงในสังคมไทย: ฆ่าหั่นศพ พ่อฆ่าลูก และอื่น ๆ อีกมากมาย. รัฐศาสตร์สาร, 23(2), 144 - 148.

ฐาศุกร์ จันประเสริฐ. (2563). โครงสร้างทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับ ความรุนแรงที่เด็กและเยาวชนถูกกระทำในโรงเรียน: กรณีศึกษาโรงเรียนแห่งหนึ่งในเขตภาคกลาง. วารสารพฤติกรรมศาสตร์, 17(1), 93-108.

พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2559). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ: สหธรรมิก.

พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2559). พุทธธรรม. กรุงเทพฯ: ผลิธัมม์.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (2565). วิธีคิดตามหลักพุทธธรรม วิธีคิดแบบอยู่กับปัจจุบัน. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ: สยาม.

พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ). (2564). มหาสติปัฏฐานสูตร ทางสู่พระนิพพาน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ไทยรายวัน.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2532). อรรถกถาภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์ กรมสุขภาพจิต. (2564). ระงับความโกรธ. สืบค้นเมื่อ9 ตุลาคม 2565, จาก https://new.camri.go.th/infographic/64

องค์การสหประชาชาติ. (2564). ความหมายของความรุนแรง. กรุงเทพฯ: องค์การสหประชาชาติ.

อนุช อาภาภิรม. (2564). ฉากความรุนแรงในยุคโลกาภิวัตน์. กรุงเทพฯ: อมรินทร์.