การบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา อำเภอเมืองระนอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพังงา ภูเก็ต ระนอง
คำสำคัญ:
การบริหารงานวิชาการ, ผู้บริหารสถานศึกษา, มัธยมศึกษาบทคัดย่อ
บทความวิจัยหัวข้อการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา อำเภอเมืองระนองสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพังงา ภูเก็ต ระนอง มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.ศึกษาการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา อำเภอเมืองระนอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพังงา ภูเก็ต ระนอง 2.เพื่อเปรียบเทียบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา อำเภอเมืองระนอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพังงา ภูเก็ต ระนอง โดยจำแนกตามระดับการศึกษาและประสบการณ์การทำงาน เป็นการวิจัยแบบเชิงสำรวจ มีเครื่องมือในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม กลุ่มประชากรคือ ครูในสถานศึกษาอำเภอเมืองระนอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพังงา ภูเก็ต ระนอง ปีการศึกษา 2565 จำนวน 132 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางเทียบหากลุ่มตัวอย่าง และในการวิจัยครั้งนี้ใช้การสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิอย่างเป็นสัดส่วน แล้วนำข้อมูลที่รวบรวมได้จากแบบสอบถามมาวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วย ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเปรียบเทียบโดยการทดสอบค่าที (t-test) พบว่า
1) การบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา อำเภอเมืองระนอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพังงา ภูเก็ต ระนอง ในภาพรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่าทุกด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดคือ ด้านการพัฒนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
2) ผลการเปรียบเทียบการประเมินการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา อำเภอเมืองระนอง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพังงา ภูเก็ต ระนอง จำแนกตามระดับการศึกษา และจำแนกตามประสบการณ์ทำงาน ในภาพรวมพบว่า ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
References
เกษม วัฒนชัย. (2555). การปฎิรูปการศึกษาไทย. กรุงเทพฯ : 21 เซ็นจูรี่.
กุลฑรี พิกุลแกม. (2551). การบริหารงานวิชาการที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนในสถานศึกษาขั้น
พื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครปฐม เขต 2 (วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษา
ศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร.
กรมวิชาการ. (2545). การพัฒนาตามความต้องการของท้องถิ่น. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ คุรุสภา
ลาดพร้าว.
กาญจน์ เรืองมนตรี และ ธรินธร นามวรรณ. (2554). ยุทธศาสตร์การบริหารการจัดการศึกษาของ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) เทศบาล อบจ. อบต. กทม. เมืองพัทยา. : กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ข้าวฟ่าง
กัมพล ขันทะวงษ์. (2555). แนวทางการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สหวิทยาเขตปราสาท
พญาไผ่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25. วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต(สาขาวิชาการบริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
กิติมา ปรีดิลก. (2545). การบริหารและการนิเทศการศึกษาเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: อักษราพิพัฒน์.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). การบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เป็นนิติบุคคล. กรุงเทพฯ:
กระทรวงฯ.
กมล ภู่ประเสริฐ. (2544). การบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา. กรุงเทพฯ: ก.พล.
กิ่งแก้ว เฟื่องศิลา. (2558). การบริหารงานวิชาการของโรงเรียนวัดโพรงมะเดื่อ (ศรีวิทยากร).
วิทยานิพนธ์ ตามหลักสูตรปริญญาศึกษาศาตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ภาควิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
คัมภีร์ สุดแท้. (2553). การพัฒนารูปแบบการบริหารงานวิชาการสำหรับโรงเรียนขนาดเล็ก.
วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม.
จรัส อติวิทยาภรณ์(2554). หลักการและทฤษฎีทางการบริหารการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. สงขลา:
เทมการพิมพ์.
จิราภา เพียรเจริญ. (2556). บทบาทผู้บริหารในการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ของครู ตามหลักสูตร
สถานศึกษาขั้นพื้นฐานในโรงเรียนมัธยมศึกษาจังหวัดปทุมธานี. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการศึกษา มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์, กรุงเทพฯ.
จันทรานี สงวนนาม. (2552). ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารสถานศึกษา. กรุงเทพฯ : สำนัก
พิมพ์บุ๊ค พอยท์.
จัดสันต์ ภักดีศรี. (2562). การพัฒนารูปแบบการบริหารงานวิชาการโดยใช้กระบวนการนิเทศ
ภายในเชิงระบบร่วมกับการทํางานเป็นทีมระหว่างผู้บริหารสถานศึกษากับครูโรงเรียนอุดรธานีพิทยาคม. โรงเรียนอุดรธานีพิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ จ.อุดรธาน.
ชุมศักดิ์ อินทร์รักษ์. (2551). การบริหารงานวิชาการและการนิเทศภายในสถานศึกษา. พิมพ์ครั้งที่
ปัตตานี: ฝ่ายเทคโนโลยีทางการศึกษาสำนักวิทยาบริการมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
ชัยยนต์ เพาพาน. (2560). ภาวะผู้นำทางการศึกษาและนวัตกรรมทางการบริหาร: กระบวนทัศน์ใหม่ในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารสถานศึกษา. กาฬสินธุ์: คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์.
ดวงกมล กิ่งจำปา. (2555). บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมงานเทคโนโลยีทาง
การศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2. วิทยานิพนธ์การศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการเทคโนโลยีการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, กรุงเทพฯ.
ธีระ รุญเจริญ. (2550). การบริหารโรงเรียนยุคปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แอล.ที.
เพรส.
ธีระ รุญเจริญ. (2552). ผู้บริหารสถานศึกษามืออาชีพศักยภาพเพื่อปฏิรูปการเรียนรู้. กรุงเทพฯ :
แอล.ที.เพรส. จำกัด.
ธีระ รุญเจริญ. (2550). ความเป็นมืออาชีพในการจัดและบริหารการศึกษายุคปฏิรูปการศึกษา.
กรุงเทพฯ : ข้าวฟ่าง.
ธนิสา คูประเสริฐ. (2559). บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาที่คาดหวังและบทบาทที่ปฏิบัติจริงใน
การประกันคุณภาพภายในตามการรับรู้ของบุคลากรของสถานศึกษาอาชีวศึกษาเอกชน เขตพื้นที่อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยหาดใหญ่, สงขลา.
นพพงษ์ บุญจิตราดุล. (2557). หลักการ และทฤษฎี การบริหารการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 3. นนทบุรี:
สำนักพิมพ์ตีรณสาร จำกัด.
นพพงษ์ บุญจิตราดุล. (2551). โน้ตย่อบริหาร. เชียงใหม่ : ออเร้นจ์ กรุ๊ป ดี ไซด์.
นภาดา ผูกสุวรรณ์. (2553). การบริหารงานวิชาการตามทรรศนะของครูโรงเรียนเทศบาล แหลม
ฉบัง 3 อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา.
นุชนภา ศิริรัตน์ และ วรชัย วิภูอุปรโคตร. (2563). การบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา
กลุ่มเครือข่ายสถานศึกษาเขาสมิง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตราด. วิทยานิพนธ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม.
บรรจบ บุญจันทร์. (2556). การบริหารสถาบันเพื่อความเป็นเลิศ. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยราช
ภัฏมหาสารคาม.
ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2553). การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพฯ : ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ.
ปราชญา กล้าผจัญ และสมศักดิ์ คงเที่ยง. (2542). หลักและทฤษฎีการบริหารการศึกษา.
กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
พสิษฐ์ อธิษฐ์ธรรมธัช. (2564). การบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาตามทัศนะครูผู้สอน
ของ กลุ่มโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรม
ราชชนนีพันปีหลวง. วิทยานิพนธ์ ตามหลักสูตรศึกษาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชพฤกษ.
ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2553) การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพฯ : ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ.
ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2555).การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพฯ : ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ.
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545.
(2546). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546. (2546). กรุงเทพฯ:
องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.
ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ, และวิบูลย์ โตวณะบุตร. (2542). หลักและทฤษฎีการบริหารการศึกษา.
กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ภารดี อนันต์นาวี. (2551). หลักการ แนวคิด ทฤษฎีทางการบริหารการศึกษา. ชลบุรี: มนตรี, มิเกล
กาไรซาบาล.
มูนา จารง. (2560). การบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาตามทศันะครูผู้สอนในศูนย์
เครือข่ายตลิ่งชัน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 2. วิทยานิพนธ์ หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.
มนัส พลายชุ่ม. (2540). ความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนที่มีต่อการบริหารงานโรงเรียน
มัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดอ่างทอง. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรจน์.
ยงยุทธ เกษสาคร. (2549:23). ภาวะผู้นำและการทำงานเป็นทีม. พิมพครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ:
สำนักพิมพ์ วี. เจ. พริ้นติ้ง.
รุ่งชัชดาพร เวหะชาติ. (2553). การบริหารงานวิชาการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. พิมพ์ครั้งที่ 4.
สงขลา: น้ำศิลป์โฆษณา.
รุ่งรัชชดาพร เวหะชาติ. (2550) การบริหารงานวิชาการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ :
สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยทักษิณ.
รุ่งฤดี คำปัน และ สุรางคนา มัณยานนท์. (2564).การศึกษาการบริหารงานวิชาการของผู้บริหาร
โรงเรียนกลุ่มเครือข่าย สถานศึกษาที่ 10 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา อุบลราชธานี เขต 3. วิทยานิพนธ์ ตามหลักสูตรปริญญาศึกษาศาตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชธานี.
รัชตา ธรรมเจริญ. (2554). องค์ประกอบและตัวบ่งชี้การเป็นโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม
ยอด นิยมเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ จังหวัดชายแดนภาคใต้. ดุษฎีนิพนธ์ศึกษาศาสตรดุษฎี บัณฑิต สาขาวิชาการบริหารศึกษา มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล, นครราชสีมา.
วิลาวัลย์ ไพโรจน์. (2540). การบริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดกรมสามัญศึกษาจังหวัด
พระนครศรีอยุธยา.วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครรินทรวิโรจน์.
วาสนา เต่าพาลี. (2557). บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษากับปัจจัยแรงจูงใจการทำผลงานทาง
วิชาการของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นการศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี. วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, กรุงเทพฯ.
วรรณชุรีย์ เกิดมงคล. (2551). การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพฯ : ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ.
วิภาดา ธาราศรีสุทธิ. (2550). การจัดและการบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารบัณฑิตศึกษาชัยภูมิปริทรรศน์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.