สังคมชุมชนวัดยุค New Normal

ผู้แต่ง

  • มะลิ ทิพพ์ประจง วิทยาลัยสงฆ์เพชรบุรี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • พระครูวิโชติสิกขกิจ วิทยาลัยสงฆ์เพชรบุรี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • พระสมคิด นาถสีโล (สุขนิล) วิทยาลัยสงฆ์เพชรบุรี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

คำสำคัญ:

สังคม, ชุมชน, วัด New Normal

บทคัดย่อ

การอยู่ร่วมกันของประชาชน ในสมัยอดีตถือได้ว่าเป็นการอยู่ตามที่ดินหรือว่าพื้นที่ของตัวเองเป็นหลักสำคัญยังไม่มีการตั้งกฎระเบียบ ข้อบังคับหรือกติการ่วมกัน ส่วนหนึ่งก็มาจากที่ประชาชนยังมีจำนวนไม่มากและการใช้ชีวิตก็ยังเป็นวิถีแบบดั่งเดิม คือ การประกอบอาชีพที่ตนเองถนัดและมีความชอบการดำเนินชีวิตก็จะมีความเป็นเสมือนว่ามีอะไรก็จะนำมาแบ่งปันให้กันและกันอยู่เนื่องไม่มีการซื้อขายหรือคิดเป็นมูลค่า แต่พอการเปลี่ยนของสังคมที่มีการแข่งขันก็นำมาซึ่งการเห็นสร้างเป็นรายได้และมูลค่าเพิ่มมากขึ้น ดังนั้น สังคมชุมชนพึงในยุคปัจจุบันจึงจะเห็นได้ไม่มากนักที่เป็นสังคม ชุมชน ใช้การดำเนินชีวิตแบบพึงพาซึ่งกันและกันให้ได้เห็นมากเท่าที่ควรส่วนหนึ่งก็มาจากสภาพการเปลี่ยนแปลงของสังคม ชุมชนและการดำเนินชีวิตของประชาชนที่ต้องการสร้างฐานะให้กับตัวเองและครอบครัวเป็นสิ่งสำคัญ เปรียบเสมือนว่าการที่สังคมเปลี่ยนแปลงก็มาจากสาเหตุต่างๆ มากมาย เช่น การเข้าไปบริหารจัดการของภาครัฐ และการอพยพของประชนชนจากถิ่นต่างๆ เข้ามาอยู่อาศัยเพิ่มมากขึ้นและความเชื่อ การใช้ชีวิตที่มีความมุ่งหาเงินมากกว่าหาความเอื้อเฟื้อซึ่งกันและกัน

References

ธีรโชติ เกิดแก้ว.(2563). การปรับตัวและการร่วมมือกันในสถานการณ์โควิด -19 ตามแนวพุทธศาสน์. วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์. ปีที่ 16 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม).

ฉัตรทิพย์ นาถสุภา. (2529). บ้านกับเมือง. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สัมพันธ์.

ธาดา วรรธนปิยกุล. (2544). การพัฒนาความเข้มแข็งขององค์กรชุมชนด้านการบริหารจัดการงบประมาณ สาธารณสุขมูลฐาน กรณีศึกษา: อำเภอละหานทรายจังหวัดบุรีรัมย์. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัย ขอนแก่น.

ธีระพงษ์ แก้วหาวงษ์. (2543). กระบวนการเสริมสร้างชุมชนเข้มแข็ง: ประชาคม ประชาสังคม. พิมพ์ครั้งที่ 6. ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา.

นภาภรณ์ หะวานนท์ และคณะ. (2550). ทฤษฎีฐานรากในเรื่องความเข้มแข็งของชุมชน. กรุงเทพฯ: สำนักกองทุนสนับสนุนงานวิจัย.

สุพรรณี ไชยอำพร. (2529).แนวความคิดทางทฤษฎีและความพยายามพึ่งตนเองระดับบุคคล. วารสาร พัฒนบริหารศาสตร์.

Fonchingong, C., & Fonjong. L. (2002). The concept of self-reliance in community disruption initiatives in the Cameroon grassfileds. Geo Journal, 57(1): 2.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

08-02-2024