วรรณกรรมทำนายอีสานเรื่องกาละนับมื้อส่วย : แนวโน้มการเปลี่ยนแปลง สภาพสังคมไทยในปัจจุบัน
คำสำคัญ:
การตีความ, วรรณกรรมทำนายอีสานเรื่อง กาละนับมื้อส่วย, วิเคราะห์แนวโน้ม, สังคมไทยปัจจุบันบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาตีความวรรณกรรมทำนายอีสานเรื่อง กาละนับมื้อส่วย เพื่อวิเคราะห์ตีความวรรณกรรมกับปรากฏการณ์แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงสภาพสังคมไทยในปัจจุบันว่า มีแนวโน้มที่จะเป็นความเป็นจริงตามที่ปรากฏเนื้อหาในวรรณกรรมที่ได้ทำนายไว้ และสร้างตระหนักในคุณค่าของพระพุทธศาสนาที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคมถ้าหากขาดซึ่งหลักศีลธรรมในพุทธศาสนานี้ไป โดยบทความครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงวิเคราะห์ตีความวรรณกรรม
References
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
สำนักอนามัยการเจริญพันธ์กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2565). สถิติการคลอดของแม่วัยรุ่นประเทศไทย ปี พ.ศ. 2565. กรุงเทพฯ: สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข, 2565.
จุไรรัตน์ ลักษณะศิริ และบาหยัน อิ่มสำราญ. (2547). การใช้ภาษาไทย. กรุงเทพฯ: โครงการตำราและหนังสือคณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2554). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ: บริษัท นานมีบุคส์พับลิเกชัน จำกัด.
ปรีชา พิณทอง. (2534). ผญาภาษิตโบราณอีสาน. พิมพ์ครั้งที่ 6. อุบลราชธานี: ศิริธรรมออฟเซ็ท.
สวิง บุญเจิม. (2542). กาละนับมื้อส่วย. กรุงเทพฯ: บ.เอช.ที.แอนด์ที. คอร์ปอเรชั่น.
ศิวกานท์ ปทุมสูติ. (2553). คู่มือการอ่านคิดวิเคราะห์. สุพรรณบุรี: ศูนย์เรียนรู้ทุ่งสักอาศร.
หม่อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุวรรณ.(2552). วิเคราะห์รสวรรณคดีไทย. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
อุดม บัวศรี. (2535). กาละนับมื้อส่วย หรือพุทธทำนาย. ขอนแก่น: ศูนย์วัฒนธรรมอีสานมหาวิทยาลัยขอนแก่น.
นฤมล กาญจนทิต และอุบลวรรณ โชติวิสิทธิ. (2532). ว่าด้วยหลักวรรณคดีวิจารณ์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
มัลลวีร์ ดอกแก้ว.(2548).วรรณกรรมท้องถิ่นเรื่อง พุทธทำนาย. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาการวิจัยและพัฒนาท้องถิ่น. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์.
ปริญ รสจันทร และคณะ.(2554).การสร้างความปรองดองระหว่างสยามและท้องถิ่นหลังความขัดแย้งกรณีกบฏผู้มีบุญอีสาน 2444 - 2455. รายงานการวิจัย ปีงบประมาณ 2555 คณะครุศาสตร์. ร้อยเอ็ด : มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด.
พระมหาสุวัฒน์ ปญฺญาวชิโร (เพ็ชรรักษา).(2563). ปริศนาธรรมในวรรณกรรม. สืบค้นข้อมูลเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2563 จาก https://www.gotoknow.org/posts/301958//.
อมร สังข์นาค. (2563). วิถีธรรมวิถีไทย หน่วยที่ 6 เรื่อง พระสงฆ์ หน้าที่ของพระสงฆ์และการปฏิบัติตนต่อพระสงฆ์. สืบค้นข้อมูลเมื่อวันที่ 2 มกราคม 2564 จากhttp://www.madchima.org/ forum/index.php?topic=5544.0;wap2 //.
หนังสือพิมพ์สยามมรัฐ ออนไลน์.(2565). ทุจริตสูงขึ้น! ไทย ติดอันดับ 101 ดัชนีคอร์รัปชั่นโลก. สืบค้นข้อมูลเมื่อวันที่ 2 มกราคม 2566 จาก https://www.thaipbs.or.th /news/ content /324089.
พระครูถิรธรรมโม ถิรธมฺโม (สว่างแก้ว). (2563, 15 ธันวาคม). การถอดความสำนวนวรรณกรรมอีสานเรื่อง กาละนับมื้อส่วย. (พระสุดสาคร ญาณวีโร, ผู้สัมภาษณ์).
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.