กรอบแนวคิดทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์และความท้าทายในอนาคต

Main Article Content

กฤษณะ ดาราเรือง
ธงชัย จ้อยชู
วุฒิชัย กาวี
ธนพจน์ แพสุวรรณ์
ภาคสกร รักกลัด

บทคัดย่อ

รัฐประศาสนศาสตร์ เป็นศาสตร์ที่มีความสำคัญในการบริหารจัดการภาครัฐหรือการบริหารรัฐกิจ เพื่อให้เข้าใจวิวัฒนาการของแนวคิด ทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ นักวิชาการได้จัดกลุ่มทฤษฎีไว้หลายแนวทางแนวทาง หนึ่งคือการแบ่งตามกระบวนทัศน์หรือกรอบแนวคิด (Paradigm) ซึ่งเป็นการจัดตามช่วงเวลาที่เกิดขึ้นดังนั้นจึงมุ่งนำเสนอแนวคิดและทฤษฎีฯ ตามช่วงกระบวนทัศน์ทางรัฐประศาสนศาสตร์ ให้เห็นถึงข้อจำกัดในแต่ละยุคสมัย เพื่อขยายมุมมองเกิดเป็นแนวคิดในอนาคตที่มีการเปลี่ยนแปลงของโลกอย่างรวดเร็ว อาทิเช่น ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร อนาคตของงาน การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และการขยายตัวของความเป็นชนบทและเมือง

Article Details

How to Cite
ดาราเรือง ก., จ้อยชู ธ., กาวี ว., แพสุวรรณ์ ธ., & รักกลัด ภ. (2025). กรอบแนวคิดทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์และความท้าทายในอนาคต. Applied Economics, Management and Social Sciences, 1(3), 63–74. สืบค้น จาก https://so15.tci-thaijo.org/index.php/A_EMS/article/view/1214
บท
บทความวิชาการ

References

กุลธิดา มาลาม. (2565). ความแปรเปลี่ยนของกระบวนทัศน์ทางรัฐประศาสนศาสตร์ที่มีอิทธิพลต่อแนวปฏิบัติและองค์ความรู้ด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในภาครัฐ. วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ มหาวิทยาลัยมหิดล, 9(1), 104-119.

จุลศักดิ์ ชาญณรงค์. (2563). แนวทางการศึกษาพัฒนาการรัฐประศาสนศาสตร์. วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์, 11(1), 115-140.

ชาญชัย อาจินสมาจาร. (2551). ทฤษฎีการบริหารตามแนวคิดของปราชญ์ตะวันตก. กรุงเทพฯ: ปัญญาชน.

เทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์. (2552). ภาพรวมและแนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับรัฐประศาสนศาสตร์. ใน เทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์ (บก.) ประมวลสาระชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการรัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1 (น.1-50). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ปฐม มณีโรจน์ และเสน่ห์ จุ้ยโต. (2555). ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการจัดการ. ใน เอกสารการสอนชุดวิชาการจัดการองค์การสารสนเทศ หน่วยที่ 2 (น. 1-55). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์. (2552). แนวคิด ทฤษฎี และหลักการรัฐประศาสนศาสตร์. ใน ประมวลสาระชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการรัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 2 (น. 51-86). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

พระมหาจำนงค์ ผมไผ. (2566). ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์. วารสารส่งเสริมและพัฒนาวิชาการสมัยใหม่, 1(3), 13-34.

พระมหาโชตนิพิฐพนธ สุทฺธจิตฺโตสุรศักดิ์, สุรศักดิ์ ชะมารัมย และวันชัย สุขตาม. (2560). แนวทางการศึกษา กรอบแนวคิดและทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร. วารสาร มจร.อุบลปริทรรศน์, 2(2), 123-140.

ลิขิต ธีรเวคิน. (2558). การเรียนการสอนวิชารัฐประศาสนศาสตร์. วารสารด้านการบริหารรัฐกิจและการเมือง, 4(1), 185-194.

วิเชียร วิทยอุดม. (2551). แนวคิดรัฐประศาสนศาสตร์และทฤษฎีระบบราชการ. กรุงเทพฯ: ธีระฟิมล์และไซเท็กซ์.

สุรศักดิ์ ชะมารัมย์. (2559). แนวทางการศึกษา กรอบแนวคิด และทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์. ค้นจาก https://elcpg.ssru.ac.th/buabuttri_ro/pluginfile.php/29/block_html/content/week%202.pdf.