พระพรหมตามคติศาสนาพราหมณ์-ฮินดู

ผู้แต่ง

  • พระวรวุฒิ วิสุทธิเมธี โอทอง มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • พูนศักดิ์ กมล มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์ชัยภูมิ

คำสำคัญ:

ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, พระพรหม, คติความเชื่อ, แนวคิด

บทคัดย่อ

พรหมเป็นผู้สร้างโลก คัมภีร์อุปนิษัทกล่าวว่า พรหมที่อยู่ในพราหมณะที่เก่าที่สุด มีความหมายเพียงเป็นการสวดอ้อนวอน เป็นเพียงแค่ความศักดิ์สิทธิ์ที่เล่าสืบเนื่องมา ชาวอินเดียส่วนหนึ่งที่นับถือพรหมเชื่อกันว่า พรหมเป็นผู้สร้างทุกสิ่ง พรหมเป็นผู้รู้ทุกสิ่งทั้งสิ่งที่มีชีวิต และสิ่งที่ไม่มีชีวิต เมื่อพรหมสร้างขึ้นมาแล้วจักรวาลจะคงอยู่ได้มีกำหนดหนึ่งวันของพรหม คิดเป็นปีมนุษย์ได้สองร้องหกสิบโกฏิปี เมื่อสิ้นวันของพรหมก็จะมีไฟบรรลัยกัลป์มาไหม้โลกจักรวาล และพรหมจะทรงสร้างจักรวาลและสิ่งต่าง ๆ ขึ้นมาอีกครั้งชาวอินเดียส่วนหนึ่งที่นับถือพรหม และชอบขอพรจากพรหมเชื่อว่า การขอพรจากพรหมเป็นสิ่งมงคล พรหมจะประทานพรให้แก่สาวก ผู้กราบไหว้บูชาพระองค์ด้วยความศรัทธาอย่างแท้จริง พระองค์จึงจะทรงประทานพรให้บุคคลนั้นได้มีแต่ความเจริญรุ่งเรือ

References

จีระพัฒน์ ประพันธ์วิทยา. (2559). อินเดียมหัศจรรย์. กรุงเทพฯ: โตโยต้าประเทศไทย.

เทพย์ สาริกบุตร. (2539). พรหมชาติฉบับราษฎร์. กรุงเทพฯ: อำนวยสาสน์.

_________. (2524). โหราศาสตร์ในวรรณคดี. กรุงเทพฯ: ศิลปาบรรณาคาร.

_________. (2523). ประชุมมหายันต์. กรุงเทพฯ: เสริมวิทย์บรรณาคาร.

ทศพล จังพานิชย์กุล. (2556). พรหมเทพผู้บันดาลความร่ำรวยและรุ่งเรือง. กรุงเทพฯ: นิยาย.

ปรีดา ปัญญาจันทร์. (2559). พระพรหม. กรุงเทพฯ: ทองเกษม.

พระราชครูวามเทพมุนี. (2539). โหราศาสตร์. กรุงเทพฯ: นคร.

พระยาสัจจาภิรมย์. (2556). เทวกำเนิด. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้ง.

_________. (2562). เทวกำเนิดภารตเทพปกรณัมอันอมตะ. กรุงเทพฯ: ศรีปัญญา.

พิทักษ์ โค้ววันชัย. (2553). ศิวะเวท. กรุงเทพฯ: สยามคเณศ.

_________. (2555). ท้าวมหาพรหม. กรุงเทพฯ: สยามคเณศ.

มาลัย จุฑารัตน์. (2562). กำเนิดเทวดา. กรุงเทพฯ: สถาพรบุ๊คส์.

มานิจ ชูชัยมงคล. (2554). บูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์. กรุงเทพฯ: เลี่ยงเชียงเพียรพุทธศาสน์.

มหาสม พ่วงภักดี. (2509). เทพปกรณัม. กรุงเทพฯ: ส.ธรรมภักดี.

มนตรี จันทร์ศิริ. (2554). ตำนานมหาเทพแห่งสรวงสวรรค์. กรุงเทพฯ: เนชั่นเอ็ดดูเทนเมนท์.

แย้ม ประพัฒน์ทอง. (2517). พรหมลิขิต. กรุงเทพฯ: รุ่งเรืองธรรม.

วันรักษ์ มิ่งมณีนาคิน. (2551). เที่ยวอินเดีย. กรุงเทพฯ: ผู้จัดการ.

วรพล สุทธินันท์. (2552). ตำราเทวรูปของพราหมณ์. กรุงเทพฯ: ไพลิน.

วิทยา ศักยาภินันท์. (2549). ศาสนาฮินดู. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ศานติ ภักดีคำ. (2556). พระพรหม. กรุงเทพฯ: อมรินทร์.

สำนักพิมพ์คเณศ์พร. (2540). เทวาลัย. กรุงเทพฯ: คเณศ์พร.

สมพงษ์ งามแสงรัตน์. (2550). หริทวารประตูสู่พระเจ้า. กรุงเทพฯ: วงกลม.

หลวงวิศาลดรุณกร. (2563). คัมภีร์โหราศาสตร์ไทยมาตรฐาน. กรุงเทพฯ: ศรีปัญญา.

โหรญาณโชติ. (2539). คัมภีร์ไสยศาสตร์ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ: ศิลปาบรรณาคาร.

ห้องโหรศรีมหาโพธิ์. (2553). ตำราพรหมชาติฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ: อำนวยสาสน์.

อดิศักดิ์ ทองบุญ. (2524). ปรัชญาอินเดีย. กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ์.

อติเทพ เทวินทร์. (2554). เทพแห่งการสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ: สยามคเณศ.

อุระคินทร์ วิริยะบูรณะ. (2522). พรหมชาติฉบับหลวง. กรุงเทพฯ: ธรรมภักดี.

อรุณศักดิ์ กิ่งมณี. (2562). ตรีมูรติอภิมหาเทพของฮินดู. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

27-06-2025

How to Cite

โอทอง พ. ว. ., & กมล พ. . (2025). พระพรหมตามคติศาสนาพราหมณ์-ฮินดู. วารสารทางวิชาการนาฬาคิรีปริทรรศน์, 2(1), 19–33. สืบค้น จาก https://so15.tci-thaijo.org/index.php/AJNP/article/view/1916