บทบาทการปกครองคณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการในจังหวัดศรีสะเกษ
คำสำคัญ:
บทบาท, การปกครองคณะสงฆ์, พระสังฆาธิการบทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มุ่งศึกษาบทบาทการปกครองคณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการใน จังหวัดศรีสะเกษ ภาระหน้าที่ในการควบคุมดูแลคณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการ มี 3 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านการปฏิบัติตามพระธรรมวินัย 2) ด้านการปฏิบัติตามกฎมหาเถรสมาคม 3) ด้านการปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับ เพื่อให้สมบูรณ์ตามพระธรรมวินัย โดยมีการออกกฎข้อบังคับให้สอดคล้องกับผู้ที่ปฏิบัติตามกำหนดให้พระสงฆ์ได้ศึกษาเรียนรู้เกี่ยวกับกฎระเบียบข้อบังคับการปกครองคณะสงฆ์ทุกระดับชั้นจะต้องประพฤติปฏิบัติตามพระธรรมวินัยและประพฤติปฏิบัติอยู่ภายใต้กฎของมหาเถรสมาคม ที่ได้วางกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ คำสั่งต่าง ๆ เป็นการช่วยในด้านการปกครองของคณะสงฆ์ ให้มีการปกครองได้ง่ายขึ้น เพื่อให้พระภิกษุสามเณรประพฤติปฏิบัติให้อยู่ในสมณสารูป และเพื่อการปกครองคณะสงฆ์ในระดับชั้นต่าง ๆ ให้เกิดความผาสุกแห่งหมู่คณะสงฆ์และความรุ่งเรืองของพระพุทธศาสนาต่อไป
References
กรมการศาสนา. (2540). คู่มือพระสังฆาธิการว่าด้วยการคณะสงฆ์และการพระศาสนา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์กรมการศาสนา.
กรมวิชาการ. (2545). การจัดสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ : กรมวิชาการ.
พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (2532). พุทธธรรม ฉบับปรับปรุงขยายความ. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตโต). (2539). ความสำคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะศาสนาประจำชาติ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ บริษัทสหธรรมิก จำกัด.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2546). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. กรุงเทพฯ : บริษัท สหธนนมิก จำกัด.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต). (2554). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์บริษัท สหธรรมิก จำกัด.
พระเมธีธรรมาภรณ์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2539). การปกครองคณะสงฆ์ไทย. กรุงเทพฯ : บริษัท สหมิกธรรม จำกัด.
สำนักงานเจ้าคณะจังหวัดศรีสะเกษ. (2554). เอกสารประกอบการประชุมพระสังฆาธิการ. (อัดสำเนา)

Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 Journal of Education and Social Agenda

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
1. เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงพิมพ์กับ Journal of Education and Social Agenda ถือเป็นข้อคิดเห็น และความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
2. บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ใน Journal of Education and Social Agenda ถือเป็นลิขสิทธิ์ของJournal of Education and Social Agenda หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่ง ส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อการกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจาก Journal of Education and Social Agenda ก่อนเท่านั้น